ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทคโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sard112 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sard112 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
แรกเริ่มเทคโนได้รวม[[ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์]]ในสไตล์ของศิลปินเช่น [[คราฟต์เวิร์ก]] (Kraftwerk) [[จอร์โจ มอรอดเดร์]] (Giorgio Moroder) และ [[เยลโล แมจิก ออร์เคสตรา]] (Yellow Magic Orchestra) พร้อมกับแนวเพลงแอฟริกันอเมริกัน รวมทั้ง [[ฟังก์]] [[อิเล็กหรอ]] ชิคาโกเฮาส์ และ[[อิเล็กทริกแจ๊ส]]<ref name="bogdanov_2001">{{cite book|last=Bogdanov|first=Vladimir|title=All music guide to electronica: the definitive guide to electronic music|year=2001|publisher=[[Hal Leonard Corporation|Backbeat Books]]|isbn=0-87930-628-9|url=http://books.google.co.uk/books?id=GJNXLSBlL7IC&pg=PT582|edition=4|accessdate=26 May 2011|page=582|quote=Typically, that birth is traced to the early '80s and the emaciated inner-city of Detroit, where figures such as Juan Atkins, Derrick May, and Kevin Saunderson, among others, fused the quirky machine music of Kraftwerk and Yellow Magic Orchestra with the space-race electric funk of George Clinton, the optimistic futurism of Alvin Toffler's ''The Third Wave'' (from which the music derived its name), and the emerging electro sound elsewhere being explored by Soul Sonic Force, the Jonzun Crew, Man Parrish, "Pretty" Tony Butler, and LA's Wrecking Cru.}}</ref> นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลรูปแบบมากมายและบทเพลงที่ไม่มีฅัวต้น<ref>Rietveld 1998:125</ref> ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตในอเมริกาในปลายยุคสังคมทุนนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือ ''The Third Wave'' (เดอะเธิร์ดเวฟ) โดย อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler)<ref>Sicko 1999:28</ref><ref>''Having grown up with the latter-day effects of Fordism, the Detroit techno musicians read futurologist Alvin Toffler's soundbite predictions for change – 'blip culture', 'the intelligent environment', 'the infosphere', 'de-massification of the media de-massifies our minds', 'the techno rebels', 'appropriated technologies' – accorded with some, though not all, of their own intuitions,'' Toop, D. (1995), ''Ocean of Sound'', Serpent's Tail, (p. 215).</ref> โปรดิวเซอร์เพลงผู้บุกเบิก [[ควน แอตกินส์]] (Juan Atkins) กล่าวถึงการถ้อยคำ "เทคโนเรเบลส์" (techno rebels) ของทอฟเลอร์ ได้เป็นแรงบันดาลใจให้เขาได้ใช้คำ เทคโน ที่จะอธิบายดนตรีสไตล์เขาที่ได้ช่วยสร้างไว้ ผสมผสานเอกลักษณ์ได้รับอิทธิพลจากแนวเทคโนกับสุนทรียะที่เรียกว่า อัฟโฟรฟิวเจอร์ริสม์ (afrofuturism) โปรดิวเซอร์เช่น [[เดอร์ริก เมย์]] ในการเปลี่ยนแปลงของจิตวิญญาณออกจากร่างกายไปยังเครื่องจักรกลที่มักจะเป็นต้นเหตุของความหลงใหลที่เป็นหลักการแสดงออกจากจิตวิญญาณเทคโนโลยี<ref>Kodwo 1998</ref><ref>Reynolds 1999:51. ''...techno artists often talk about what they do in the seemingly inappropriate language of traditional humanist art – 'expression', 'soul', 'authenticity', 'depth'.''</ref> ในกรณีนี้: "เทคโนแดนซ์มิวสิกสิ้นหวังเช่นไร อโดร์โน เห็นว่าเป็นผลการทำให้เหินห่างของการนำเครื่องจักรมาใช้แทนคนในจิตสำนึกที่ทันสมัย"<ref>Mc Leod, K.,"Space oddities: aliens, futurism and meaning in popular music", Popular Music (2003) Volume 22/3. Copyright 2003 Cambridge University Press, pp. 337–355.</ref>
 
เฉพาะรูปแบบแล้ว โดยทั่วไปเทคโน ได้ผลิตแบบเพลงการบรรเลงซ้ำ ๆ ดนตรีอย่างซ้ำๆในการใช้งานอย่างต่อเนื่องของชุดดีเจ จังหวะเสียงกลองส่วนใหญ่มักจะอยู่ในเวลาปานกลาง (4/4) ที่เวลาถูกตั้งค่ากับกลองเบสในแต่ละจังหวะโน้ตสี่ส่วน จังหวะย้อนหลังเล่นโดยกลองเล็กหรือเสียงตบมือในสองและสี่จังหวะของ[[เครื่องหมายประจำจังหวะ|ท่อน]]และเปิดเสียงฉาบเพื่อการทำให้เกิดเสียงในทุกครั้งต่อวินาทีที่ท่อนแปด จังหวะมีค่อนข้างที่จะแตกต่างกันไประหว่างประมาณ 120 จังหวะต่อนาที (จังหวะโน้ตสี่ส่วนเท่ากับ 120 ต่อนาที) และ 150 ครั้งต่อนาทีที่ขึ้นอยู่กับสไตล์ของเทคโน
 
ใช้ความคิดสร้างสรรค์ของเทคโนโลยีในการผลิตเพลง เช่น [[ดรัมแมชชีน]] [[เครื่องสังเคราะห์เสียง]]และ[[ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชัน]] ถูกมองว่าเป็นสิ่งสำคัญของสุนทรียะของเพลง หลายโปรดิวเซอร์เพลงได้ใช้ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แบบย้อนยุคในการสร้างสิ่งที่พวกเขาคิดว่าจะเป็นเทคโนเสียงจริง ดรัมแมชชีนในทศวรรษ 1980 เช่น [[ทีอาร์-808]] ของโรแลนด์ และ [[ทีอาร์-909]] มีราคาแพงมากและการเลียนแบบซอฟแวร์ย้อนยุคของเทคโนโลยีดังกล่าวได้อยู่ในความแพร่หลายในหมู่โปรดิวเซอร์
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เทคโน"