ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากวางตุ้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: hr:Yue kineski (jezik)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 28:
แม้ว่าภาษาจีนกลางจะเป็นภาษามาตรฐานและเป็นภาษากลางในจีนและไต้หวัน ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงเป็นภาษาหลักของชาวจีนโพ้นทะเลรวมทั้งในฮ่องกง ซึ่งเป็นเพราะว่าผู้อพยพเหล่านี้ออกจากกวางตุ้งไปก่อนที่ภาษาจีนกลางจะเข้ามามีอิทธิพล หรือมิฉะนั้นก็เป็นเพราะในฮ่องกงมิได้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างสมบูรณ์
 
ภาษาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาที่มีลักษณะอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาจีนกลาง เช่นมีเสียงตัวสะกดมากกว่า แต่ภาษาจีนกวางตุ้งก็ไม่มีวรรณยุกต์บางเสียง และรวมบางเสียงเข้าด้วยกัน
 
สำเนียงไถ่ซานที่ใช้พูดในสหรัฐปัจจุบันถือเป็นสำเนียงที่มีลักษณะอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมมากกว่าสำเนียงที่ใช้พูดในกวางโจวและฮ่องกง โดยยังคงรักษาคำที่ข้นต้นด้วยเสียง /n-/ ซึ่งผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งที่เกิดในฮ่องกงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปลี่ยนเป็นเสียง /l-/ และไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /ŋ-/ ตัวอย่างเช่น ngàuh nām เป็น àuh lām
 
ระบบเสียงของภาษาจีนกวางตุ้งต่างจากภาษาจีนกลางที่ใช้พยางค์ต่างกันเป็นส่วนใหญ่ ชุดของเสียงวรรณยุกต์ก็ต่างกัน ภาษาจีนกวางตุ้งมีวรรณยุกต์ 6-7 เสียง มีความต่างของเสียงวรรณยุกต์ระหว่างคำเป็นและคำตาย ในขณะที่ภาษาจีนกลางมีวรรณยุกต์ 5 เสียง ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงมีเสียงตัวสะกดหลายเสียง เช่นเดียวกับ[[ภาษาฮากกา]]และ[[ภาษาจีนฮกเกี้ยน]] คือ /-m/, /-n/, /-ŋ/, /-p/, /-t/, /-k/ ส่วนภาษาจีนกลางมีเพียงเสียง /-n/, /-ŋ/ อย่างไรก็ตามระบบเสียงสระของภาษาจีนกลางมีลักษณะอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมมากกว่าโดยยังคงมีเสียงสระประสมบางเสียงที่หายไปแล้วในภาษาจีนกวางตุ้ง
 
== ระบบการเขียน ==