ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งแยกนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
autoCategory
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''การแบ่งแยกนิวเคลียส''' หรือ '''นิวเคลียร์ฟิชชัน'''<!-- สะกด ฟิช ตามเสียงอ่าน--> ({{lang-en|Nuclear fission}}) เป็นปฏิกิริยาที่[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ของ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่มีขนาดใหญ่อย่างเช่น [[ยูเรเนียม]] แตกแยกตัวออกเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มี ขนาดเล็ก เช่น[[แบเรียม]]และ[[แลนทานัม]] ปฏิกิริยาฟิซชันจึงเปรียบเสมือนปฏิกิริยาจุดชนวนซึ่งเมื่อเกิดแล้ว ทำให้เกิดปฏิกิริยาอื่น ๆ เกิดตามมาเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ หากขาดการควบคุมจะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เมื่อเปรียบเทียบกับ[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน]]พบว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชันจะให้พลังงานน้อยกว่า และผลิตผลที่ได้จะเป็น[[กัมมันตรังสี]]
 
โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุขนาดใหญ่แยกตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดเล็กลง เรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นฟิชชัน ซึ่งค่อนข้างจะคุ้นหูสำหรับคนไทยเนื่องจากมีการกล่าวถึงอยู่บ่อยครั้ง ในปัจจุบันมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยาฟิชชั่นฟิชชันมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศอังกฤษ]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส]] เป็นต้น แต่การนำเอาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นฟิชชันมาใช้นั้นมีความเสี่ยงในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงมาก ซึ่งเห็นได้จากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่โรงงานไฟฟ้าเชอโนเบิล ที่[[ประเทศรัสเซีย]] ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายและยังคงเป็นเรื่องเศร้าใจและน่ากลัวจนถึงทุกวันนี้
 
== อ้างอิง ==