ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิลเลียม เทอร์เนอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: my:တားနား ဂျေ၊ အမ်၊ ဒဗျူ
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 17:
พระอาทิตย์ พายุ และฝนไม่มีชีวิตชีวา นี่เป็นฉากที่เทอร์เนอร์ตั้งให้ “ฮันนิบาลกำลังข้ามเทือกเขาแอลป์” แสงและส่วนประกอบต่างๆ ไม่ใช่วิธีแรกของการแสดงความสวยงาม พวกมันเปรียบเทียบลางของหายนะที่ใกล้เข้ามา ซึ่งจะตามการต่อสู้ของนายพลแอฟริกาเหนือกับ[[โรม]]โบราณ ภาพและรูปแบบรุนแรงทำให้คนร่วมสมัยของเทอร์เนอร์ตกใจ การวิจารณ์อย่างเป็นสาธารณะประณามเขาว่าประสาท แต่การกระตุ้นอย่างรุนแรงโดยการแสดงออกของจิตรกรมีด้านกวีของมันเช่นกัน
 
ในพ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819) เทอร์เนอร์เดินทางไปโรม จากจุดเริ่มต้นเขาหลงรักบรรยากาศอดีตและปัจจุบันของเมืองในขณะเดียวกัน เทอร์เนอร์บันทึกภาพของเมืองในสมุดภาพร่างของเขาเป็นหลักนอกจากทิวทัศน์ เทอร์เนอร์เดินทางไปโรมสองครั้งในชีวิตของเขา ครั้งแรกสำรวจภาพและสิ่งแวดล้อมทั้งหมด ในพ.ศ. 2371 เขามากับความตั้งใจที่จะใช้เวลานานกว่าใน “เมืองอมตะ” อยู่และทำงานในโรมเป็นสิ่งสำคัญมากต่อเขา ศิลปินจากทุกชาติของโลกอยู่รอบๆ ตั้งถิ่นฐานในตลาด ถนน คาเฟ่ สตูดิโอ โรมสำหรับเทอร์เนอร์เป็นเมืองแรกและสำคัญสุดของโคลด ลอเรน (Claude Lorrain) และเหมือนแบบที่เขาเคารพ เขาต้องการประสบความสำเร็จที่นี่ แต่มีคู่แข่ง กลุ่มจิตรกร[[เยอรมัน]]ในโรมสร้างชุมชนแยกออกไปและเผยแพร่ความเลื่อมใสต่อความคลาสสิคคลาสสิก
 
เมื่อวิลเลียม เทอร์เนอร์กลับไปลอนดอนในพ.ศ. 2372 เขาตื่นตะลึงทางวัฒนธรรม ขณะที่[[อิตาลี]]อยู่ในอดีตทางการเมืองและวัฒนธรรม [[อังกฤษ]]เป็นอำนาจของโลกมานาน การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นและการล่าอาณานิคมที่เพิ่มขึ้นเป็นอิทธิพลเด่นในการเมือง ลอนดอนเป็นมหานครซึ่งไม่มีที่ใดเทียบเท่ากับประชากรมากกว่าหนึ่งล้านคน เทอร์เนอร์แทบจะไม่วาดลอนดอนกับสถาปัตยกรรมมีชื่อเสียงและงดงามของมัน วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2377 มีหายนะในลอนดอนตรงที่ซึ่งรัฐสภายืนอยู่วันนี้ มีเปลวไฟพุ่งขึ้นไปในท้องฟ้าตอนเย็น ในคืนเดียว ไฟทำลายส่วนที่เหลือของพระราชวังยุคกลางและรัฐสภา เทอร์เนอร์อยู่ในเมือง ความอยากรู้อยากเห็นทำให้เขารีบไปที่ความหายนะ ภายในช่วงเวลาสั้นๆ เขาสร้างภาพวาดสีน้ำมันสองภาพซึ่งบันทึกอัคคีภัยอย่างชัดเจนด้วยการเล่นสีรุนแรง