ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณะทางสังคม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ดูที่=วรรณะ (แก้ความกำกวม)}}
 
[[File:PiraSocVirreinatoPerú.jpg|thumb|วรรณะเป็นระบบจัดลำดับชั้นทางสังคมที่อัตลักษณ์ของบุคคลถูกกำหนดโดยคุณค่าภายในของชาติกำเนิดและบรรพบุรุษ ซึ่งมิเท่าเทียมกัน<ref name=berreman>{{cite journal|title=Race, Caste, and Other Invidious Distinctions in Social Stratification|author=Gerald D. Berreman|year=1972|publisher=University of California, Berkeley|doi=10.1177/030639687201300401|url=http://reserves.fcla.edu/rsv/NC/010015586-1.pdf}}</ref> ระบบวรรณะบริสุทธิ์เป็นระบบปิด ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในสังคมได้เพียงเล็กน้อย เพราะชาติกำเนิดเท่านั้นที่กำหนดอนาคตทั้งหมดของบุคคล จึงมีความเคลื่อนไหวในสังคมแต่เพียงน้อยที่เกิดจากความพยายามของปัจเจกบุคคล<ref>Macionis, Gerber, John, Linda (2010). Sociology 7th Canadian Ed. Toronto, Ontario: Pearson Canada Inc.. pp. 225.</ref> ระบบวรรณะพบได้ในหลายส่วนของโลก ภาพนี้แสดงถึงระบบวรรณะในละตินอเมริกาช่วงจักรวรรดิเสปน]]
'''วรรณะทางสังคม''' หรือ '''วรรณะ'''<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขารัฐศาสตร์ ปรับปรุง ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔ สาขาประชากรศาสตร์ ปรับปรุง ๔ ก.พ. ๒๕๔๕ สาขาปรัชญา ปรับปรุง ๒ มี.ค. ๒๕๔๕</ref> ({{lang-en|caste}}) เป็นปรากฎการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมโบราณที่วิวัฒนการผ่านเวลาหลายศตวรรษและยังพบเห็นได้ในหลายส่วนของโลก<ref>{{cite book|title=Encyclopedia of Developing World|author=Thomas Leonard (Editor)|isbn=1-57958-388-1|volume=1|year=2006}}</ref> วรรณะใช้อธิบายกลุ่มคนซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ แต่งงานแต่ในพวกเดียวกัน สืบทอดอาชีพกันจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน และรักษาสถานะของพวกตนในลำดับชั้นทางสังคม<ref name=berreman>{{cite journal|title=Race, Caste, and Other Invidious Distinctions in Social Stratification|author=Gerald D. Berreman|year=1972|publisher=University of California, Berkeley|doi=10.1177/030639687201300401|url=http://reserves.fcla.edu/rsv/NC/010015586-1.pdf}}</ref><ref>{{cite book|title=The Sociology of Science: Theoretical and Empirical Investigations|author=Robert Merton|year=1979|isbn=978-0-226-52092-6|publisher=University Of Chicago Press}}</ref><ref>{{cite book|title=The Positive Philosophy of Auguste Comte (translated by Martineau)|author=Auguste Comte|publisher=Calvin Blanchard|year=1858|pages=584–615|url=http://www.worldcat.org/title/positive-philosophy-of-auguste-comte/oclc/150571978?referer=di&ht=edition}}</ref><ref name=kdavis>{{cite book|title=Kingsley Davis: A biography and selections from his writings|author=David Heer|isbn=0-7658-0267-8|year=2005|publisher=Transactions Publishers}}</ref> ซึ่งมีตัวอย่างสำคัญคือ[[ระบบวรรณะในอินเดีย]]ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก[[ศาสนาฮินดู]]<ref>{{cite journal|author=Gerald Berreman|journal=American Journal of Sociology|volume= 66|number=2|date=September 1960|page= 120-127|jstor=2773155}}</ref> ตามนิยามของ Haviland วรรณะเป็นการจัดช่วงชั้นในสังคม ที่แต่ละกลุ่มวรรณะถูกกำหนดแต่กำเนิดและเปลี่ยนแปลงมิได้ตลอดชีวิต แต่ละวรรณะต้องแต่งงานกันเองและลูกหลานที่เกิดขึ้นก็เป็นสมาชิกของวรรณะโดยอัตโนมัติ<ref name=hav1>{{cite book|author=William A. Haviland|title=Anthropology: The Human Challenge, 13th edition (see Chapter 22)|publisher=Thomson Wadsworth|year=2010|isbn=978-0-495-81084-1).}}</ref>