ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสั่นพ้องของวงโคจร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Galilean moon Laplace resonance animation.gif|thumb|250px|การสั่นพ้องลาปลัสที่เกิดกับดวงจันทร์กาลิเลียนสามดวง สัดส่วนตัวเลขเป็นคาบการโคจร]]
 
'''การสั่นพ้องของวงโคจร''' ({{lang-en|orbital resonance}}) เป็นลักษณะทาง[[กลศาสตร์]]ของเทหวัตถุบนท้องฟ้าที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุที่มีวงโคจรสองชิ้นส่งอิทธิพลด้าน[[แรงโน้มถ่วง]]ต่อกันเป็นช่วงเวลา ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อวงโคจรของวัตถุทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเป็นสัดส่วนจำนวนเต็ม การสั่นพ้องของวงโคจรจะเพิ่มพูนแรงโน้มถ่วงระหว่างกันของวัตถุเหล่านั้น โดยทั่วไปแล้วปรากฏการณ์นี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ไม่เสถียร ทำให้วัตถุมีการแลกเปลี่ยน[[โมเมนตัม]]และเปลี่ยนวงโคจรไปจนกระทั่งการสั่นพ้องไม่เกิดขึ้นอีก ในบางสภาวะการณ์สภาวการณ์ ระบบที่มีการสั่นพ้องอาจจะเสถียรและปรับแก้ตัวเองก็ได้ ทำให้วัตถุยังคงอยู่ในภาวะการสั่นพ้องต่อไป ตัวอย่างเช่นการสั่นพ้องวงโคจร 1:2:4 ของดวงจันทร์ของ[[ดาวพฤหัสบดี]] คือ[[แกนีมีด]] [[ยูโรปา]] และ[[ไอโอ]] หรือการสั่นพ้อง 2:3 ระหว่าง[[ดาวพลูโต]]และ[[ดาวเนปจูน]] การสั่นพ้องที่ไม่เสถียรของดวงจันทร์รอบในของ[[ดาวเสาร์]]ทำให้ช่องว่างใน[[วงแหวนของดาวเสาร์]]ใหญ่ขึ้น
{{โครงฟิสิกส์}}