ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูนพิศ อมาตยกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 57:
* อนุมัติบัตร (พ.บ.,อ.ว.) โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์วิทยา ในปีพุทธศักราช 2515
* ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ดุริยางคศิลป์ ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในปีพุทธศักราช 2537
* ได้เป็นศาสตราจารย์ ระดับ 10 (ดุริยางคศาสตร์) และ รองศาสตราจารย์ ระดับ 10 (แพทย์ศาสตร์แพทยศาสตร์) ในปีพุทธศักราช 2540
* ได้เป็นนักวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์(Communication Disorders) มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีพุทธศักราช 2545
 
== แรกเริ่ม ==
 
เรียนดนตรีไทยกับนาย[[เทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล]] เรียนขับร้องจากครู[[แช่มช้อย ดุริยพันธ์]] อาจารย์[[เจริญใจ สุนทรวาทิน]] คุณหญิง[[ไพฑูรย์ กิตติวรรณ]] ครู[[สุดจิตต์ ดุริยประณีต]] และครู[[สุรางค์ ดุริยพันธ์]] มีความสามารถในการขับร้องเพลงไทยและประพันธ์บทร้องเพลงไทย เป็นนักจัดรายการเพลงทางวิทยุและโทรทัศน์ที่สนใจการเก็บรักษาผลงานที่ออกอากาศ รวบรวมลงานและรักษาไว้ในห้องสมุดดนตรีเป็นจำนวนมากกว่า 1.600 รายการ ต้นฉบับรายการวิทยุเหล่านี้ยังรักษาไว้เพื่อการอ้างอิง ในห้องสมุดดนตรีสมเด็จพระเทพรัตน์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ศาลายา และที่หน่วยโสตทัศน์ หอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ยังเป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับดนตรี และมีบทความเก็บไว้เพื่ออ้างอิงได้ มากกว่า 900 เรื่อง เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา (Musicologist) สอนวิชาดนตรีวิทยาควบคู่กับวิชาแพทย์ศาสตร์แพทยศาสตร์ตลอดเวลากว่า 30 ปี ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นศาสตราจารย์สาขาดนตรีเป็นคนที่ 3 ของประเทศไทย และเป็นคนแรกของมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปีพุทธศักราช 2540 เขียนหนังสือไว้หลายเล่ม อาทิ สยามสังคีต ลำนำสยาม หนังสือรวมประวัติสตรีนักร้องเพลงไทยและนักระนาดเอกของไทย รายการวิทยุที่ผลิตแล้ว ยังเก็บรักษาไว้ในห้องสมุดดนตรี อาทิ รายการพบครูดนตรีไทย สยามสังคีต เพลงไทยจากมหาวิทยาลัยมหิดล สังคีตภิรมย์ เพลงไทยสากลจากอดีต ฯลฯ
 
== การงานอดีต จนถึง ปัจจุบัน ==
บรรทัด 71:
* ได้รับตำแหน่ง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ระดับ 10 อดีตผู้อำนวยการวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
* อดีตผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
* อดีตหัวหน้าภาควิชา โสต ศอ นาสิก คณะแพทย์ศาสตร์แพทยศาสตร์ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีพุทธศักราช 2522 - 2529
* เป็นประธานคณะอนุกรรมการเผยแพร่ความรู้ และผลงานทางวิชาการผ่านสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีพุทธศักราช 2527 - 2531
* ประธานคณะอนุกรรมการ จัดงานประกวดดนตรีไทย"ฆ้องทองคำครั้งที่ 2"
บรรทัด 112:
* รางวัลอาจารย์ดีเด่นของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีพุทธศักราช 2537
* รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล (ประเภทครูดีเด่น) ในปีพุทธศักราช 2537
* เข็มที่ระลึกบุคคลดีเด่นของสมาคมศิษย์เก่า คณะแพทย์ศาสตร์แพทยศาสตร์ ศิริราช
* เข็มพระรูปทองคำลงยาชั้นที่ 1 มูลนิธิราชสุดา ในปีพุทธศักราช 2544
* รางวัลปาฐกถา ประสงค์ ตู้จินดา ในปีพุทธศักราช 2545