ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อบเชย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4251329 สร้างโดย OctraBot (พูดคุย)
บรรทัด 26:
อบเชยมีสรรพคุณทางยา เนื่องจากมี[[แทนนิน]]สูงที่ให้รสฝาดจึงนิยมใช้ในยาตำรับแผนโบราณเช่น เป็นส่วนผสมในยาหอมต่าง ๆ โดยใช้ส่วนของเปลือกลำต้น ใช้ในการแก้จุกเสียด แน่นท้อง หรือใช้ในการทำ[[ยานัตถุ์]]ใช้สูดดม เพื่อเพิ่มความสดชื่น ลดอาการอ่อนเพลีย แก้โรคท้องร่วงเพราะมีส่วนช่วยต้าน[[แบคทีเรีย]]ในกระเพาะอาหาร ขับปัสสาวะ ช่วยในการย่อยอาหาร และสลายไขมัน ส่วนเปลือกลำต้นอายุมากกว่า 6 ปี หรือใบกิ่งยังนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้อีกด้วย ซึ่งจะมีมากในอบเชยญวนที่ให้น้ำมันหอมระเหย 2.5%
 
น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ ''[[Streptococcus iniae]]'' ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ ''S. iniae'' คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ ''S. niae'' น้อยลง<ref> พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาตปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/12408.pdf การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อบเชย"