ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไตรปิฎกภาษาบาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Tripiṭaka in Ubosot of Wat Kungtaphao .jpg|thumb|188px|left|ปรากฏพระพุทธดำรัสใน[[มหาปรินิพพานสูตร]]ว่า "เมื่อทรงปรินิพานไปแล้ว พระธรรมวินัยที่ได้ทรงสั่งสอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย"<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=1888&Z=3915&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 9-7-52</ref>]]
'''พระไตรปิฎก''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Tripiṭaka, [[ภาษาสิงหล|สิงหล]]: ත්‍රිපිටකය, [[เทวนาครี]]: त्रिपिटक) เป็น[[คัมภีร์]]ที่บรรจุคำสอนของ[[พระพุทธศาสนา]] ซึ่งเรียกรวมๆ ว่า [[พุทธธรรม]] คำว่าพระไตรปิฎกมาจาก[[ภาษาบาลี]] ''ติปิฏก'' แปลว่า [[ตะกร้า]]สามใบ หรือคำสอนสามหมวด (''ติ'' หมายถึง [[3 (จำนวน)|สาม]] ''ปิฏก''
หมายถึง [[ตำรา]] คัมภีร์ หรือ[[กระจาด]]) สันนิษฐานว่าที่มาของคำว่าพระไตรปิฎกน่าจะมาจากการที่พระภิกษุจดจารึกคัมภีร์ใส่ลงในใบตระกูลปาล์มและใส่ลงในตระกร้าตะกร้า ถ้าอาศัยหลักฐานทางวิชาการ เชื่อว่าไตรปิฎกเป็นชื่อที่ใช้กันมาก่อนจะ[[สังคายนา]]ครั้งที่ 3 เพราะมีการใช้คำพูดว่า "ไตรปิฎก" ในประวัติศาสตร์ยุค[[พระเจ้าอโศก]]ก่อนการสังคายนาครั้งที่ 3 จึงเชื่อได้ว่าหลังสังคายนาครั้งที่ 2 พระสงฆ์มีการแยกพระอภิธรรมออกจากพระสูตรแล้วเมื่อสังคายนาครั้งที 3 จึงแยกอย่างเป็นเรื่องเป็นราวจริง ซึ่งคำสอนสามหมวดนี้ ได้แก่
 
* ''[[พระวินัยปิฎก]]'' หรือ ''พระวินัย'' ได้แก่ประมวลระเบียบข้อบังคับของ[[บรรพชิต]]ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้สำหรับ[[ภิกษุ]]และ[[ภิกษุณี]]