ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซานเลอูโช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=305px}}
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
| Image = [[ภาพไฟล์:San_leucio.jpg|248px]]
| imagecaption = <small>ซานลูซิโอ</small>
| Country = {{ITA}}
| Name = [[พระราชวังกาแซร์ตา|พระราชวังและสวนในสมัยคริสตศตวรรษที่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ที่คาแซร์ตา]] [[สะพานส่งน้ำวันวีเตลลี|สะพานส่งน้ำที่วานวิเทลลี]] และกลุ่มอาคาร[[ซานลูซิโอ|ซานลูชีโอ]]
| Type = มรดกทางวัฒนธรรม
| Year = 2540
บรรทัด 15:
“ซานลูซิโอ”<ref>UNESCO: 18th-Century Royal Palace at Caserta with the Park, the Aqueduct of Vanvitelli, and the San Leucio Complex[http://whc.unesco.org/en/list/549 ]</ref> ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]โดยองค์การ[[ยูเนสโก]]ในปี ค.ศ. 1997
 
== ประวัติ ==
ในปี ค.ศ. 1750 [[พระเจ้าคาร์ลที่ 3 แห่งสเปน|พระเจ้าคาร์ลที่ 7 แห่งเนเปิลส์]]ทรงมีพระบรมราชโองการในมนตรีแบร์นาร์โด ทานุชชิเลือกที่ตั้งที่เดิมเป็นเรือนล่าสัตว์สสำหรับตระกูลอควาวิวา สำหรับการก่อสร้างสถานที่สำหรับการทดลองทางสังคมและเทคโนโลยี ซึ่งเป็นโครงการผสมระหว่างการสร้างประชาคมที่สนองทั้งความต้องการทางด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และความต้องการทางสังคม ในระยะแรกซานลูซิโอเป็นสถานที่สำหรับการพักผ่อนจากการหาความสำราญในการล่าสัตว์ที่สร้างบนซากวัดซานลูซิโอที่[[สะพานส่งน้ำวานวิเทลลิ|สะพานส่งน้ำ]]นำน้ำจากน้ำตกไปยัง[[พระราชวังคาเซอร์ตา]]ที่ออกแบบโดย สถาปนิก[[Luigi Vanvitelli|ลุยจิ วานวิเทลลิ]] พระราชโอรสองค์ที่สามในพระเจ้าคาร์ล [[Ferdinand I of the Two Sicilies|พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์]]ทรงสร้างตำหนักล่าสัตว์ส่วนพระองค์ ณ ที่นั้น พระองค์ทรงเป็นนักล่าสัตว์ผู้มีความสามารถและไม่ทรงโปรดชีวิตอันหรูหราในราชสำนัก ซานลูซิโอจึงได้รับการเลือกโดยพระเจ้าคาร์ลและพระราชโอรสทรงสร้างโรงงานไหม กลุ่มสิ่งก่อสร้างกลายมาเป็นสถานที่สำหรับผลิตไหมซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างประเภทที่ล้ำยุคของคริสต์ศตวรรษที่ 18 สถาปนิกฟรานเชสโค โคลเลชินีเป็นผู้ออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม ที่กี่ที่ส่งเสียงดังติดตั้งเคียงข้างกับห้องชุดที่ประทับและห้องนั่งเล่นกลายเป็นชาเปลสำหรับคนงาน