ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมโมนอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: pt,eo,eu,sk,he,ko,es,ca,hu,fi,uk,it,de,sl,ja,simple,hr,lt,da (strongly connected to th:แอมโมไนต์),pl (deleted)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 40:
รูปแบบเส้นรอยเชื่อมของเปลือกกระดองชั้นย่อย[[แอมโมนอยดี]]มี 3 ลักษณะหลักๆด้วยกันคือ
* “[[โกนิเอติติดา|โกนิเอติติก]]” เส้นรอยเชื่อมมีการโค้งเว้าไปมาทำให้เกิดสันและพูหลายชุด โดยทั่วไปโดยรอบเปลือกหอย ([[conch]]) ช่วงหนึ่งๆจะมี 8 พลู รูปแบบเส้นรอยเชื่อมแบบนี้เป็นลักษณะของแอมโมนอยด์มหายุคพาลีโอโซอิก
* “[[เซอราติติก]]” เส้นรอยเชื่อมบนส่วนของพูทั้งหลายจะมีการหยักย่อยเป็นยอดปลายแหลมมีลักษณะคล้ายจักฟันเลื่อย ขณะที่เส้นรอยเชื่อมของสันจะเรียบมน เส้นรอยเชื่อมแบบนี้เป็นลักษณะของแอมโมนอยด์ยุคไทรแอสซิก และไปปรากฎปรากฏอีกครั้งในยุคครีเทเชียส “[[ซูโดเซอราไทต์]]”
* “[[แอมโมนิติก]]” เส้นรอยเชื่อมมีการโค้งหยักย่อยทั้งบนสันและพูแต่ปรกติแล้วจะโค้งเรียบมนแทนที่จะเป็นแบบจักฟันเลื่อย แอมโมนอยด์แบบนี้มีความสำคัญมากในทางการลำดับชั้นหิน รูปแบบเส้นรอยเชื่อมเป็นลักษณะของแอมโมนอยด์ยุคจูแรสซิกและยุคครีเทเชียส แต่ก็ขยายกลับลงไปได้ถึงยุคเพอร์เมียนด้วย