ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: nn:Jordskjelvet i Sendai 11. mars 2011
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 59:
แผ่นดินไหวดังกล่าวได้ย้ายตำแหน่งแกนโลกไป โดยประเมินไว้ระหว่าง 10 ถึง 25 เซนติเมตร<ref name=DW /><ref name="NYTimes-Chang2011-03-13" /><ref name="Chai" /> การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกเล็กน้อยหลายอย่าง รวมทั้งความยาวของวันและความเอียงของโลก<ref name="Chai">{{cite news|url=http://www.montrealgazette.com/news/Japan+quake+shifts+earth+axis+centimetres/4426356/story.html|title=Japan's quake shifts earth's axis by 25 centimetres|last=Chai|first=Carmen|date=2011-03-11|work=[[The Gazette (Montreal)|Montreal Gazette]]|publisher=[[Postmedia News]]|accessdate=2011-03-13|archiveurl=http://www.webcitation.org/5x95t0CLU|archivedate=2011-03-13}}</ref> อัตราเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลกเพิ่มขึ้น ทำให้วันหนึ่งสั้นลง 1.8 ไมโครวินาทีเนื่องจากการกระจายมวลโลกใหม่ การเคลื่อนย้ายแกนเกิดขึ้นจากการกระจายมวลบนพื้นผิวของโลกใหม่<ref name="day length">{{cite news|url=http://www.cbsnews.com/stories/2011/03/13/scitech/main20042590.shtml|title=Earth's day length shortened by Japan earthquake|date=2011-03-13|publisher=[[CBS News]]|accessdate=2011-03-13}}</ref> ซึ่งเปลี่ยนแปลง[[โมเมนต์ความเฉื่อย]]ของโลก จากผลกระทบในการอนุรักษ์[[โมเมนตัมเชิงมุม]] การเปลี่ยนแปลง[[ความเฉื่อย]]ดังกล่าวทำให้อัตราการหมุนของโลกเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย<ref>{{cite news|url=http://www.bbc.co.uk/blogs/23degrees/2011/03/can_an_earthquake_shift_the_ea.html|title=Can an earthquake shift the Earth's axis?|last=Harris|first=Bethan|date=2011-03-14|publisher=BBC News|accessdate=2011-03-15}}</ref> ซึ่งเป็นสิ่งที่คาดการณ์ไว้<ref name="Chai" /> สำหรับแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงระดับนี้<ref name="Deutsche Welle" /><ref name="day length" />
 
[[ไฟล์:Soil-liquefaction at Shinkiba after after 2011 Tohoku Pacific Ocean offshore earthquake.jpg|thumb|ปรากฎการณ์ปรากฏการณ์ดินเหลว (soil liquefaction) ในโกโต กรุงโตเกียว]]
ปรากฎการณ์ปรากฏการณ์ดินเหลว (soil liquefaction) ปรากฎปรากฏชัดเจนในพื้นดินที่เกิดจากการถมทะเล (reclaimed land) รอบกรุงโตเกียว โดยเฉพาะในอุรายาสุ<ref>Fukue, Natsuko, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nn20110408f3.html Urayasu still dealing with liquefaction]", ''[[Japan Times]]'', 8 April 2011, p. 4. {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5xrXvNqLX|date=11 April 2011}}</ref> นครชิบะ ฟุนาบาชิ นาราชิโนะ (จังหวัดชิบะ) และในเขตโกโต เอโดงาวา มินาโตะ ชูโอะ และโอตะในกรุงโตเกียว มีบ้านหรืออาคารถูกทำลายอย่างน้อย 30 หลัง และอาคารอื่นอีก 1,046 หลังได้รับความเสียหายในระดับต่าง ๆ กัน<ref>''[[Yomiuri Shimbun]]'', "Liquefaction Damage Widespread", 10 April 2011.</ref> ท่าอากาศยานฮาเนดะที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งส่วนใหญ่สร้างบนพื้นที่ดินเกิดจากการถมทะเลนั้น ไม่ได้รับความเสียหาย โอดาอิบะก็เผชิญกับปรากฎการณ์ปรากฏการณ์ดังกลาวเช่นกัน แต่ความเสียหายเล็กน้อยมาก<ref>[[Bloomberg L.P.]], "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nn20110324n2.html Tokyo Disneyland's parking lot shows the risk of reclaimed land]", ''[[Japan Times]]'', 24 March 2011, p. 3. {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5y2MwHCYB|date=18 April 2011}}</ref>
 
[[ภูเขาไฟชินโมอิเดเกะ]] ภูเขาไฟบน[[เกาะคิวชู]] ปะทุขึ้นสองวันหลังจากแผ่นดินไหวดังกล่าว จากที่เคยปะทุขึ้นมาแล้วเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าการปะทุดังกล่าวมีความเชื่อมโยงกับแผ่นดินไหวหรือไม่<ref>{{cite news|url=http://www.latimes.com/news/nationworld/world/la-fgw-japan-quake-volcano-20110314,0,2486939.story|title=Volcano in southern Japan erupts|last=Hennessy-Fiske|first=Molly|date=2011-03-13|work=[[Los Angeles Times]]|accessdate=2011-03-13|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xAFMNiQh|archivedate=2011-03-13}}</ref> ใน[[แอนตาร์กติกา]] คลื่นแผ่นดินไหวจากแผ่นดินไหวดังกล่าวได้รับรายงานว่าทำให้ธารน้ำแข็งวิลแลนส์ไถลไป 0.5 เมตร<ref>{{cite news|url=http://www.newscientist.com/article/dn20245-japan-quake-shifts-antarctic-glacier.html|title=Japan quake shifts Antarctic glacier|last=Ananthaswamy|first=Anil|date=2011-03-15|accessdate=2011-03-15}}</ref>