ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดแพร่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RxAlchemiste (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 127:
:
ลักษณะที่ตั้งของเมืองแพร่อยู่บนฝั่งแม่น้ำ จึงเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมบ่อยทำให้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ถูกทำลาย การศึกษาประวัติศาสตร์ของแพร่ในยุคหลังจึงต้องศึกษาจากพงศาวดาร
นักประวัติศาสตร์ไม่นิยมใช้ เนื่องจากขาดความชัดเจน แต่เมื่อไม่ปรากฎปรากฏหลักฐาน ตำนานที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์จึงต้องนำวิธีนี้มาใช้ รอยการอยู่อาศัยของมนุษย์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์พบในพื้นที่ริมแม่น้ำ พบขวานหินกะเทาะ และขวานหินขัด
* '''ยุคการก่อตั้งชุมชน'''
:
บรรทัด 154:
อำเภอที่มีแหล่งชุมชนโบราณที่สำคัญที่สุดคือ อำเภอสอง และอำเภอเมืองแพร่
:
- เมืองสองหรือเมืองสรอง ตั้งอยู่บนฝั่งของแม่น้ำสอง หรือแม่น้ำกาหลง มีคูน้ำและคันดินล้อมรอบ ไม่ปรากฎปรากฏผู้ใดสร้าง
:
:
บรรทัด 176:
- ชุมชนโบราณบ้านแม่คำมี ลักษณะของชุมชนคือสร้างสองฝั่งลำน้ำแม่คำมี มีลักษณะแตกต่างจากชุมชนโบราณแห่งอื่นที่สร้างติดลำน้ำด้านเดียว มีแนวคันดินด้านทิศตะวันออกเหลืออยู่ 3 ชั้น
:
- บ้านพระหลวงธาตุเนิ้ง ชุมชนนี้ไม่ปรากฎปรากฏคูน้ำและคันดินล้อมรอบแต่มีโบราณสถานที่สำคัญคือ พระธาตุเนิ้ง (เจดีย์นี้มีลักษณะเอียงซึ่งอาจเกิดจากแผ่นดินไหว) ได้รับการบูรณะซ่อมแซมและขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ
:
- เวียงต้า ที่ตั้งชุมชนเป็นที่ราบลูกคลื่นใกล้ภูเขามีแนวคันดิน 3 ชั้น นอกกำแพงวัดมีวัดเก่าแก่ คือ วัดต้าม่อน มีภาพเขียนฝาผนังเขียนเล่าชาดกเรื่อง “ ก่ำก๋าดำ” ปัจจุบันภาพจิตรกรรมนี้ถูกเคลื่อนย้ายไปไว้ที่ไร่แม่ฟ้าหลวง [[จังหวัดเชียงราย]]
บรรทัด 194:
เมืองแพร่มีมาตั้งแต่[[สมัยพุทธกาล]] ตำนานวัดหลวงกล่าวไว้ว่าประมาณ พ.ศ. ๑๓๗๑ พ่อขุนหลวงพล ราชนัดดาแห่งกษัตริย์น่านเจ้าได้อพยพ[[คนไทย]] ([[ไทยลื้อ]] ไทยเขิน) ส่วนหนึ่งจากเมือง[[เชียงแสน]] ไชยบุรี และเวียงพางคำ ลงมาสร้างเมืองบนที่ราบริมฝัง[[แม่น้ำยม]] ขนานนามว่า “เมืองพลนคร”
:
ตำนานสิงหนวัติกล่าวว่าเมืองแพร่เป็นเมือง ที่ปกครองโดยพญายี่บาแห่งแคว้น[[หริภุญไชย]] สันนิษฐานว่าเมืองแพร่และ[[จังหวัดลำพูน|เมืองลำพูน]]เป็นเมือง ที่สร้างขึ้นมาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่งสอดคล้องกับ[[หลักศิลาจารึก]] [[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช|พ่อขุนรามคำแหง มหาราช]]หลักที่ ๑ ด้านที่ ๔ บรรทัดที่ ๒๔ - ๒๕ ซึ่งจารึกไว้ว่า . “..เบื้องตีนนอน รอดเมืองแพล เมืองน่าน เมือง…เมืองพลัวพ้นฝั่งของ เมืองชวา เป็นที่แล้ว…” ในข้อความนี้ เมืองแพล คือ เมืองแพร่ ศิลาจารึกนี้สร้างขึ้นใน พ.ศ. ๑๘๒๖ จึงเป็น สิ่งที่ยืนยันถึงความเก่าแก่ ของเมืองแพร่ ว่าตั้งขึ้นมาก่อนเมืองเชียงใหม่ และเชื่อว่าเมืองแพร่ ได้ก่อตั้งขึ้นแล้วก่อนการตั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ชื่อเดิมของเมืองแพร่ การก่อตั้งชุมชนหรือบ้านเมืองส่วนใหญ่ในภาคเหนือมักปรากฎปรากฏ ชื่อบ้านเมืองนั้นในตำนาน เรื่องเล่าหรือจารึกตลอดจนหลักฐานเอกสารพื้นเมืองของเมืองนั้น ๆ แต่สำหรับเมืองแพร่นั้น แตกต่างออกไปเนื่องจากไม่มีหลักฐานที่เกี่ยวข้อง โดยตรงจึงมีที่มาของ ชื่อเมืองจากหลักฐานอื่นดังนี้ เมืองพล นครพลหรือพลรัฐนคร เป็นชื่อเก่าแก่ดั้งเดิมที่สุดที่พบในตำนานเมืองเหนือ ฉบับใบลาน พ.ศ. ๑๘๒๔ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า เจ้าเมืองลำปางได้ส่งคน มาติดต่อเจ้านครพล ให้ไปร่วมงานนมัสการ และฉลองวัดพระธาตุลำปางหลวง และจากตำนาน พระธาตุลำปางหลวง ตอนหนึ่ง ได้กล่าวถึงเจ้าเมืองพล ยกกำลังผู้คนไปขุดหาพระบรมสารีริกธาตุ บรรจุไว้ในพระธาตุ แต่ไม่พบ เมื่อศึกษาตำแหน่งที่ตั้งของนครพลตามตำนานดังกล่าว พบว่าคนเมืองแพร่ ปัจจุบัน ชื่อพลนครปรากฎปรากฏเป็นชื่อวิหารในวัดหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ โดยเชื่อว่าวัดนี้เป็นวัด ที่สร้างมาพร้อมกับการสร้างเมืองแพร่และเจ้าเมืองแพร่ให้ความอุปถัมภ์มา ตลอดจนหมดยุค การปกครองโดยเจ้าเมืองเมืองโกศัย เป็นชื่อที่ปรากฎปรากฏในพงศาวดารเมืองเงิน ยางเชียงแสน ชื่อนี้ใช้เรียกเมืองแพร่ ในสมัยขอมเรืองอำนาจที่ชื่อเมืองในอาณาจักร ล้านนาเปลี่ยน เป็นภาษาบาลีตามความในยุคนั้น เช่น น่านเป็นนันทบุรี ลำพูนเป็นหริภุญไชย ลำปางเป็นเขลางค์นคร เป็นต้น
:
ชื่อ เวียงโกศัย น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็นที่ตั้งขององค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองแพร่คือ ดอยโกสิยธชัคบรรพต หมายถึง ดอยแห่งผ้าแพร เมืองแพล เป็นชื่อที่ปรากฎปรากฏ ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชหลักที่ ๑ ด้านที่ ๔ โดยคำว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของ ชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพร หรือช่อแฮที่สร้างขึ้น ภายหลังการสร้างเมืองต่อมาจึงได้เรียกชื่อ เมืองของตนว่า เมืองแพล
จังหวัดแพร่จากประวัติศาสตร์การสร้างวัดหลวง พุทธศักราช 1371 พญาพลเป็นผู้ครองนครแพร่ เดิมชื่อ เมืองพล หรือ พลนคร ในสมัยขอมเรืองอำนาจระหว่างปี พ.ศ. 1470-1560 พระนางจามเทวีแห่งหริภุญไชยเข้าครอบครองดินแดนแคว้นล้านนาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ โกศัยนคร” หรือ “เวียงโกศัย”
: