ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคแทบอลิซึม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า กระบวนการสลาย ไปยัง แคแทบอลิซึม ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:anacata.jpg|thumb|right|250px|[[แคแทบอลิซึม]]คือ [[กระบวนการสลาย]][[เมแทบอไลต์]]ที่ได้มี[[โมเลกุล]]เล็กลง]]
 
'''แคแทบอลิซึม''' เป็นกลุ่ม[[วิถีเมแทบอลิซึม]]ซึ่งสลายโมเลกุลเป็นหน่วยขนาดเล็กและปลดปล่อยพลังงาน ในแคแทบอลิซึม โมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น [[พอลิแซ็กคาไรด์]] [[ลิพิด]] [[กรดนิวคลีอิก]]และ[[โปรตีน]]ถูกสลายเป็นหน่วยขนาดเล็กกว่า เช่น [[มอโนแซ็กคาไรด์]] [[กรดไขมัน]] [[นิวคลีโอไทด์]]และ[[กรดอะมิโน]]ตามลำดับ โมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น พอลิแซ็กคาไรด์ โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ซึ่งประกอบด้วยหน่วย[[มอโนเมอร์]]สายยาวนี้ เรียกว่า [[พอลิเมอร์]]
'''กระบวนการสลาย''' ({{lang-en|Catabolism แคแทบอลิซึม}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[กระบวนการสร้างและสลาย]] ที่ทำให้สารประกอบโมเลกุลใหญ่และซับซ้อน กลายเป็นสารประกอบโมเลกุลเล็กและไม่ซับซ้อน แคแทบอลิซึมเป็นปฏิกิริยาเคมีย่อยสะลายเพื่อให้เกิดพลังงานใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ของ[[สิ่งมีชีวิต]] ซึ่งสารโมเลกุลใหญ่ (polymeric molecules) จะถูกย่อยเป็นโมเลกุลเล็กลง เช่น
 
เซลล์ใช้มอโนเมอร์ที่ปลดปล่อยจากการสลายพอลิเมอร์เพื่อสร้างโมเลกุลพอลิเมอร์ใหม่ หรือย่อยมอโนเมอร์นั้นอีกจนเหลือผลิตภัณฑ์ของเสียที่มีโครงสร้างเรียบง่าย และปลดปล่อยพลังงานออกมา ของเสียในเซลล์รวมถึง[[กรดแลกติก]] [[กรดอะซีติก]] [[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[แอมโมเนีย]]และ[[ยูเรีย]] การสร้างของเสียเหล่านี้โดยปกติเป็นขบวนการ[[ออกซิเดชัน]]เกี่ยวข้องกับการปลดปล่อยพลังงานเคมีอิสระ ซึ่งบางส่วนสูญเสียไปในรูปความร้อน แต่ส่วนที่เหลือถูกใช้เพื่อขับเคลื่อนการสังเคราะห์[[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต]] (ATP) โมเลกุลนี้ทำหน้าที่เป็นหนทางที่เซลล์ขนส่งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากแคแทบอลิซึมไปยังปฏิกิริยาที่ต้องการพลังงานซึ่งประกอบเป็นแอแนบอลิซึม ฉะนั้น แคแทบอลิซึมจึงให้พลังงานเคมีซึ่งจำเป็นต่อการคงสภาพและการเจริญเติบโตของเซลล์ ตัวอย่างของขบวนการแคแทบอลิซึม เช่น [[ไกลโคไลสิส]] [[วัฏจักรเครปส์]] การสลายโปรตีนกล้ามเนื้อเพื่อใช้กรดอะมิโนเป็นสารตั้งต้นใน[[การสร้างกลูโคส]]และการสลายไขมันใน[[เนื้อเยื่อไขมัน]]เป็นกรดไขมัน
* [[พอลิแซกชาไรด์]] (polysaccharide) ---> [[โมโนแซกชาไรด์]] (monosaccharide)
* [[กรดนิวคลีอิก]] (nucleic acid) ---> [[นิวคลีโอไทด์]] (nucleotide)
* [[โปรตีน]] (protein) ---> [[กรดอะมิโน]] (amino acid)
 
[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]จะใช้โมเลกุลเดี่ยว (monomers) สร้างเป็นโมเลกุลเชิงซ้อน (polymeric molecules) แล้วแยกสะลายเป็นโมเลกุลเล็กในเซลล์ (cellular metabolites ) เช่น [[กรดแลคติก]] [[กรดน้ำส้ม]] [[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[แอมโมเนีย]] [[ยูเรีย]] เป็ยต้น การสร้างเมตาโบไลต์ในเซลล์เป็นกระบวนการ[[ออกซิเดชัน]] ที่เกี่ยวข้องกับการปล่อยพลังงานเคมีอิสระ พลังงานทั้งหมดไม่ได้สูญเสียเป็นความร้อน แต่บางส่วนของพลังงานจะถูกเปลี่ยนไปเป็นพลังงานควบเพื่อการสังเคราะห์ อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต ([[ATP]]) การไฮโดรไลสิส [[ATP]] จะเป็นการสร้างพลังงานต้นทางเพื่อการขับเคลื่อนปฏิกิริยาเคมีอื่นๆภายในเซลล์ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า กระบวนการสลาย คือการทำให้ได้พลังงานเคมีมาเพื่อการดำรงชีวิตของเซลล์ ตัวอย่างของ กระบวนการสลาย เช่น การย่อยสะลายโปรตีนกล้ามเนื้อเพื่อให้ได้ [[กรดอะมิโน]] มาเป็น[[ซับสเตรต]] (substrate) สำหรับกระบวนการ [[กลูโคนีโอเจนิสิส]] (gluconeogenesis) และการย่อยสะลาย[[ไขมัน]]ไปเป็น[[กรดไขมัน]]
 
การควบคุมกระบวนการสลาย และ [[กระบวนการสร้าง]] ว่าช่วงไหนควรเป็น กระบวนการสลาย หรือ [[กระบวนการสร้าง]] ร่างกายจะใช้ [[ฮอร์โมน]] เป็นตัวกำหนดสัญญาณ
 
;ฮอร์โมนแบบเก่าที่กำหนดสัญญาณกระบวนการสลาย
* [[คอร์ติโซน]] (Cortisol)
* [[กลูคากอน]] (Glucagon)
* [[อะดรีนารีน]] และ [[catecholamine]]
* [[ไซโตคีน]] (Cytokine)
 
;ฮอร์โมนไหม่ที่เกี่ยวข้องกับความสมดุลระหว่างกระบวนการสร้าง และกระบวนการสลาย
* [[โอรีซิน]] (Orexin)
* [[ไฮโปครีติน]] (Hypocretin-a hormone pair)
* [[เมลาโทนิน]] (Melatonin)
 
[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]