ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้รู้รอบด้าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:علامه (لقب)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
|accessdate=2006-12-05
|year=2001
|author=Harper, Daniel}}</ref>, {{lang-en|Polymath}}) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้ที่ไม่เป็นทางการเท่าใดนัก ผู้รู้รอบด้านอาจจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชายเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน<ref>[http://www.oup.co.uk/pdf/0-19-815248-5.pdf 1 Introduction: Greek Science in Context ]</ref>
 
คำว่า “คนเรอเนสซองซ์” (Renaissance man) หรือ “คนของโลก” (homo universalis) ซึ่งเป็นคำที่มีความนิยมน้อยกว่าที่มาจากภาษาละตินเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ผู้รู้รอบด้าน” ที่ใช้ในการบรรยายถึงผู้มีการศึกษาดีและมีความเชี่ยวชาญในวิชาการต่างๆ หลายวิชา<ref>[http://encarta.msn.com/encnet/features/dictionary/DictionaryResults.aspx?refid=1861738117 Encarta dictionary]</ref> ลักษณะนี้มักจะปรากฏในโลกของอาหรับ ต่อมาในยุโรปความคิดนี้ก็มานิยมกันใน[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี]]จากความคิดที่เขียนโดยผู้แทนผู้มีความสามารถของยุคนั้นชื่อ[[ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ]] ([[ค.ศ. 1404–1404]] – [[ค.ศ. 1472]]) ผู้กล่าวว่า “มนุษย์จะทำอะไรก็ได้ถ้าตั้งใจ” ประโยคนี้เป็นปรัชญาพื้นฐานของ[[ลัทธิมนุษย์วิทยา]]เรอเนสซองซ์ ที่ถือว่าอำนาจอยู่มือของมนุษย์ ความไม่มีขอบเขตของความสามารถและการวิวัฒนาการ และการนำไปสู่ความคิดที่ว่ามนุษย์ควรจะโอบอุ้มความรู้ทั้งหลายและพัฒนาตนเองให้เต็มความสามารถเท่าที่จะอำนวย ฉะนั้นผู้มีความสามารถในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาจึงแสวงหาการพัฒนาความรู้ความสามารถทุกด้าน การพัฒนาทางทางร่างกาย และการสร้างความสำเร็จในทางสังคมและทางศิลปะ
 
ตัวอย่างของผู้ที่ถือว่าเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” ก็ได้แก่ [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]], [[พีทาโกรัส]], [[อริสโตเติล]], [[อาร์คิมิดีส]], [[จาง เหิง]] (Zhang Heng), [[โอมาร์ คัยยาม]], [[โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ]] และ [[เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี]] (رشیدالدین طبیب -Rashid-al-Din Hamadani)