ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากคลองตลาด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.buriram (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| s_next = [[สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์]]
}}
'''ปากคลองตลาด''' ({{lang-en|Pak Khlong Talat}}) เป็น[[ตลาดสด]]ขนาดใหญ่ บริเวณ[[ถนนจักรเพชร]] ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อม[[วัดราชบุรณราชวรวิหาร|วัดราชบูรณะ]] [[โรงเรียนราชินี]]และ[[โรงเรียนสวนกุหลาบ]] ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 5 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้วย <ref> วรุณรัตน์ คัทมาตย์, [http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/lifestyle/20120830/468135/%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html 'ปากคลอง' ประลองอาเซียน] กรุงเทพธุรกิจ 30 สิงหาคม 2555</ref>
 
== ประวัติ ==
แต่เดิมเป็นตลาดค้าปลาขนาดใหญ่ที่ส่งตรง มาจาก[[แม่น้ำท่าจีน]] (สมุทรสาคร) แล้วของที่ส่งผ่านมาทาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] มีบันทึกว่าในในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ทรงโปรดฯ ให้ขุดคลองหลายสายมาตั้งแต่เริ่มสถาปนากรุงเทพ รวมถึง "คลองตลาด" คลองเล็กข้างวัดบูรณศิริอมาตยาราม อีกทั้งในย่านไม่ไกลกันนี้ มีคลองที่ขุดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2315 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิน เรียกว่า "คลองใน" ซึ่งทั้ง 2 แห่งนี้เป็นตลาดสดเน้นการค้าปลาเป็นหลักมาจน จนในรัชสมัย [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่โปรดฯ จะเรียกตลาดนี้ว่า "ตะพานปลา" ในระยะหนึ่ง ก็เปลี่ยนจากตลาดค้าปลาไปยังตำบลวัวลำพอง [[หัวลำโพง]] แทน ตลาดปลานี้จึงแปรสภาพเป็นตลาดสด ค้าสินค้าเกษตร อย่างผัก ผลไม้และดอกไม้สด มาจนถึงทุกวันนี้<ref>[http://travel.sanook.com/bangkok/bangkok_07198.php ปากคลองตลาด]</ref>
 
ในสมัยอยุธยาเป็นย่านชุมชน พลหลักฐานเป็นสิ่งปลูกสร้างทั้งวัดและป้อมปราการต่างๆ ที่ก่อสร้างขึ้นมาหลายแห่ง รอบๆ ชุมชนมีคูคลองและแม่น้ำหลายสายเข้ามาบรรจบกันจนมีลักษณะเป็นปากคลอง ต่อมาในสมัยธนบุรี เป็นจุดนัดพบของผู้คนที่สัญจรทางน้ำ มีการค้าขาย แลกเปลี่ยนสิ่งของ
ย่านปากคลองตลาด มีลักษณะเป็น[[อาคารพาณิชย์]]เป็นส่วนใหญ่ สูง 2-4 ชั้น มีการวางสินค้าต่าง ๆ และแผงลอย กันสาด กันอย่างหนาแน่น
 
แต่เดิมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เป็นตลาดค้าปลาขนาดใหญ่ที่ส่งตรง มาจาก[[แม่น้ำท่าจีน]] (สมุทรสาคร) แล้วของที่ส่งผ่านมาทาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] มีบันทึกว่าในในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ทรงโปรดฯ ให้ขุดคลองหลายสายมาตั้งแต่เริ่มสถาปนากรุงเทพ รวมถึง "คลองตลาด" คลองเล็กข้างวัดบูรณศิริอมาตยาราม อีกทั้งในย่านไม่ไกลกันนี้ มีคลองที่ขุดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2315 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิน เรียกว่า "คลองใน" ซึ่งทั้ง 2 แห่งนี้เป็นตลาดสดเน้นการค้าปลาเป็นหลักมาจน จนในรัชสมัย [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่โปรดฯ จะเรียกตลาดนี้ว่า "ตะพานปลา" ในระยะหนึ่ง ก็เปลี่ยนจากตลาดค้าปลาไปยังตำบลวัวลำพอง [[หัวลำโพง]] แทน ตลาดปลานี้จึงแปรสภาพเป็นตลาดสด ค้าสินค้าเกษตร อย่างผัก ผลไม้และดอกไม้สด มาจนถึงทุกวันนี้<ref>[http://travel.sanook.com/bangkok/bangkok_07198.php ปากคลองตลาด]</ref>
 
ย่านปัจจุบัน ปากคลองตลาดประกอบด้วยตลาดหลัก 3 แห่งได้แก่ ตลาดองค์การตลาด ตลาดยอดพิมาน และตลาดส่งเสริมเกษตรไทย มีลักษณะเป็น[[อาคารพาณิชย์]]เป็นส่วนใหญ่ สูง 2-4 ชั้น มีการวางสินค้าต่าง ๆ และแผงลอย กันสาด กันอย่างหนาแน่น
 
== อ้างอิง ==