ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การหลับ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''การนอนหลับ'''เป็นสถานะที่เกิดซ้ำตามธรรมชาติ โดยแสดงลักษณะที่มีสติสัมปชัญญะลดลงหรือไม่มีเลย กิจกรรมรับความรู้สึกที่ค่อนข้างถูกงด และการขาดกิจกรรมของกล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจแทบทั้งหมด<ref>''Macmillan Dictionary for Students'' Macmillan, Pan Ltd. (1981), p. 936. Retrieved 2009-10-1.</ref> การนอนหลับต่างจาก[[ความตื่นตัว]]เงียบตรงที่มีความสามารถสนองต่อสิ่งเร้าลดลง และสามารถผันกลับได้ง่ายกว่าอยู่ในสถานะ[[จำศีล]]หรือ[[โคมา]]มาก การนอนหลับเป็นสถานะที่มี[[แอแนบอลิซึม]]เพิ่มขึ้น โดยเน้นการเจริญเติบโตและการฟื้นฟูระบบภูมิคุ้มกัน ประสาท กระดูกและกล้ามเนื้อ การนอนหลับพบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด นกทุกชนิด และสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และปลาหลายชนิด
 
ความมุ่งหมายและกลไกของการนอนหลับยังไม่ชัดเจนทั้งหมด และยังเป็นหัวข้อของการวิจัยอย่างจริงจัง<ref>{{cite web |url=http://thesciencenetwork.org/programs/waking-up-to-sleep |title=Waking Up To Sleep |accessdate=2008-01-25 |last=Bingham |first=Roger |coauthors=Terrence Sejnowski, Jerry Siegel, Mark Eric Dyken, Charles Czeisler, Paul Shaw, Ralph Greenspan, Satchin Panda, Philip Low, Robert Stickgold, Sara Mednick, Allan Pack, Luis de Lecea, David Dinges, Dan Kripke, Giulio Tononi |date=February 2007 |format=Several conference videos |publisher=The Science Network}}</ref> มักคิดกันว่า การนอนหลับช่วยรักษาพลังงาน<ref name="syllabus">{{cite web |url=http://www.sleephomepages.org/sleepsyllabus/b.html |title=Sleep Syllabus. B. The Phylogeny of Sleep |accessdate=2010-09-26 |publisher=Sleep Research Society, Education Committee}}</ref><ref name="function">[http://www.scribd.com/doc/13916183/AQA-ALevel-Psychology-PYA4-Function-of-Sleep "Function of Sleep."]. Scribd.com. Retrieved on 2011-12-01.</ref> แต่แท้จริงกลับลด[[เมแทบอลิซึม]]เพียง 5-10%<ref name="syllabus"/><ref name="function"/> สัตว์ที่จำศีลต้องการนอนหลับ แม้ว่าภาวะเมแทบอลิซึมต่ำจะพบได้ในการจำศีล และต้องเปลี่ยนกลับจาก[[ภาวะตัวเย็นเกิน]]มาเป็น[[อุณหภูมิปกติของร่างกาย]]ก่อนจึงจะหลับได้ ทำให้การหลับ "มีราคาทางพลังงานสูง"<ref name="pmid1945046">{{cite journal |author=Daan S, Barnes BM, Strijkstra AM |title=Warming up for sleep? Ground squirrels sleep during arousals from hibernation |journal=Neurosci. Lett. |volume=128 |issue=2 |pages=265–8 |year=1991 |pmid=1945046 |doi=10.1016/0304-3940(91)90276-Y}}</ref>
โดยทั่วไปเรามักเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนต้องการนอนหลับพักผ่อน 7 - 9 [[ชั่วโมง]]จึงเพียงพอ แต่ความเป็นจริง
มีคนจำนวนไม่น้อยที่ต้องการนอนน้อยกว่านี้ก็ทำให้สดชื่นได้ สามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในช่วงกลางวัน
ได้เป็นปกติ แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยที่ต้องการนอนมากกว่า 8 ชั่วโมงจึงจะพอ
 
แต่ละช่วงอายุต้องการการนอนหลับต่อวันไม่เท่ากัน เด็กต้องการนอนหลับมากกว่าเพื่อให้ร่างกายพัฒนาและทำหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม ทารกเกิดใหม่ต้องการนอนหลับถึง 18 ชั่วโมง และมีอัตราลดลงในวัยเด็ก
ใน[[ทารก]]แรกเกิดพบว่าเด็กนอนได้เกือบตลอดทั้งวัน ยกเว้นช่วงที่ตื่นขึ้นมากิน[[นม]] เมื่อ[[อายุ]]ได้ 1 ขวบ [[เวลา]]
 
นอนและเวลาตื่นจะเท่าๆ กันคือ 12 ชั่วโมง ใน[[เด็ก]]โตความต้องการนอนจะลดเหลือประมาณ 10 ชั่วโมง
{| class="wikitable"
ใน[[วัยรุ่น]]และ[[ผู้ใหญ่]]ส่วนใหญ่ต้องการการนอน 7-8 ชั่วโมง บางคนนอนน้อยกว่านี้ (< 6 ชั่วโมง) และ
|-
บางคนมากกว่านี้ (>9 ชั่วโมง) เช่น [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] นอนหลับมากกว่า 10 ชั่วโมงในแต่ละคืน
! อายุหรือสภาวะ
แต่[[วิคเตอร์ ฮิวโก]] และ[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]] ไม่นอนเกิน 5 ชั่วโมงต่อคืน การนอนจะเริ่มลดระยะเวลาลง
! ความต้องการการนอนหลับ
เมื่อคนเราอายุมากขึ้น ใน[[ผู้สูงอายุ]]เวลาการนอนกลางคืนจะลดลง ตื่นบ่อย และมักนอนกลางวัน
|-
| ทารกเกิดใหม่ (0-2 เดือน)
| 12-18 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation">{{cite web |url=http://www.sleepfoundation.org/article/how-sleep-works/how-much-sleep-do-we-really-need |title=How Much Sleep Do We Really Need? |accessdate=2012-04-16 |date=Undated |publisher=[[National Sleep Foundation]]}}</ref>
|-
| ทารก (3–11 เดือน)
| 14-15 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" />
|-
| เด็กวัยหัดเดิน (1–3 ขวบ)
| 12-14 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" />
|-
| เด็กก่อนวัยเรียน (3–5 ขวบ)
| 11-13 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" />
|-
| เด็กวัยเรียน (5–10 ปี)
| 10-11 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" />
|-
| [[วัยรุ่น]] (10-17 ปี)
| 8.5-9.25 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" /><ref>{{cite web |url=http://www.sleepfoundation.org/article/hot-topics/backgrounder-later-school-start-times |title=Backgrounder: Later School Start Times |accessdate=2009-10-02 |date=Undated |publisher=[[National Sleep Foundation]] |quote=Teens are among those least likely to get enough sleep; while they need on average 9{{frac|1|4}} hours of sleep per night...}}</ref>
|-
| ผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
| 7-9 ชั่วโมง<ref name="sleepfoundation" />
|-
| สตรีมีครรภ์
| 8 ชั่วโมงขึ้นไป
|}
 
ดังนั้นมนุษย์แต่ละคนต้องการการนอนไม่เท่ากัน นอนเท่าไรถึงจะเพียงพอจึงขึ้นอยู่กับความรู้สึก