ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราหุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
Mixvasuvadh ย้ายหน้า พระราหุล ไปยัง พระราหุลเถระ: พระภิกษุสงฆ์ เป็นพระฐานะสุดท้านก่อนนิพพาน
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| img = Buddha with Rahula.jpg
| img_size =
| img_capt = [[พระพุทธเจ้า]] และพระราหุล
| ชื่อเดิม =
| พระนามเดิม = เจ้าชายราหุล
| ชื่ออื่น =
| พระนามอื่น = เจ้าชายราหุล, <br /> ราหุลกุมาร <br /> ราหุลศากยกุาร
| วันเกิด =
| วันประสูติ = ประมาณวันที่[[พระโคตมพุทธเจ้า|เจ้าชายสิทธัตถะ]]ออกผนวช
| สถานที่เกิด =
| สถานที่ประสูติ = [[เมืองกบิลพัสดุ์|กรุงกบิลพัสดุ์]] [[สักกะ|แคว้นสักกะ]]
| สถานที่บวช = [[เมืองกรุงกบิลพัสดุ์]] แคว้นสักกะ
| วิธีบวช = [[ติสรณคมณูปสัมปทา]]
| สถานที่บรรลุธรรม = [[เมืองกรุงกบิลพัสดุ์]]
| ตำแหน่ง =
| เอตทัคคะ = ผู้เลิศในด้านใคร่การศึกษา
บรรทัด 23:
| สถานที่เสียชีวิต =
| สถานที่นิพพาน = ไม่ทราบอย่างแน่ชัด
| ชาวเมือง = [[เมืองกบิลพัสดุ์]]
| นามบิดา =
| นามพระบิดา =
บรรทัด 35:
| อาชีพ =
| ชื่อสถานที่ =
| หมายเหตุ = [[สามเณร]]องค์รูปแรกใน[[พุทธศาสนา]]
}}
'''พระราหุล''' เป็นพระราชโอรสใน[[เจ้าชายสิทธัตถะ]] (พระโคตมพุทธเจ้า) กับ[[พระนางยโสธรา]]หรือพิมพา ประสูติในวันที่พระบิดาออกผนวช
 
'''พระราหุลเถระ''' หรือพระนามเดิม พระราหุล ทรงเป็นพระราชโอรสใน[[เจ้าชายสิทธัตถะ]] (พระโคตมพุทธเจ้า) กับ[[พระนางยโสธรา]]หรือพิมพา ประสูติในวันที่พระบิดาออกผนวช
ในพระไตรปิฎกว่า เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อได้ทราบว่า พระกุมารประสูติ ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "ราหุ ชาโต พันธนัง ชาตัง" แปลว่า "''ราหุ'' (บ่วง) เกิดขึ้นแล้ว พันธนาการเกิดขึ้นแล้ว" หมายความว่า พระกุมารที่ประสูติจะเป็นบ่วงร้อยรึงพระองค์ไว้กับภริยาและชีวิตฆราวาส ซึ่ง[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ทรงนึกว่าสิทธัตถราชกุมารทรงตั้งพระนามโอรสอย่างนั้น จึงทรงขนานนามพระภาคิไนย (พระเจ้าหลาน) ว่า "ราหุล" อันแปลว่า "บ่วง"
 
ในพระไตรปิฎกว่า เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อได้ทราบว่า พระกุมารราชโอรสประสูติ ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "ราหุ ชาโต พันธนัง ชาตัง" แปลว่า "''ราหุ'' (บ่วง) เกิดขึ้นแล้ว พันธนาการเกิดขึ้นแล้ว" หมายความว่า พระกุมารที่ประสูติจะเป็นบ่วงร้อยรึงพระองค์ไว้กับภริยาและชีวิตฆราวาส ซึ่ง[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ทรงนึกว่าสิทธัตถราชกุมารทรงตั้งพระนามโอรสอย่างนั้น จึงทรงขนานนามพระภาคิไนย (พระเจ้าหลาน) ว่า "ราหุล" อันแปลว่า "บ่วง"
 
อย่างไรก็ดี ตามพระวินัยของ[[นิกายสรวาสติวาท]]ว่า พระนาม "ราหุล" มิได้มาจากรากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "บ่วง" แต่มาจากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "[[จันทรคราส]]" หรือที่ในภาษาไทยว่า "[[พระราหู|ราหู]]"<ref>Edward Joseph Thomas, The Life of Buddha as Legend and History. Routledge, 1975. Page 53, note 1.</ref> <ref>Raniero Gnoli (ed.) The Gilgit Manuscript of the Samghabhedavastu. Rome: Instituto Italiano per il Medio ed Estremo Oriente, 1977. 1:119.</ref>
เส้น 47 ⟶ 48:
[[ไฟล์:Prince Rahula and Buddha.jpg|thumb|250px|left|พระราหุลกุมารทูลขอราชสมบัติจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระสิทธัตถะโคตมพุทธเจ้า]]]]
 
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้[[ตรัสรู้]]เป็น[[พระพุทธเจ้า]]และทรงเสด็จไปเผยแผ่[[พุทธศาสนา]] ณ [[แคว้นมคธ]] ก็ทรงนิวัติกลับ[[กรุงกบิลพัสดุ์]] เพื่อโปรดพระบิดาและพระญาติประยูร และมีเหล่าสาวกติดตามเสด็จมาด้วย วันหนึ่งพระนางยโสธราทรงได้พากุมารพระราหุล และทรงรับสั่งให้พระกุมารราหุลไปทูลขอพระราชสมบัติ พระพุทธเจ้าจึงทรงบรรพชาพระราหุลเป็น[[สามเณร]]และให้เสด็จติดตามพระองค์ไปด้วย พระกุมารราหุลจึงเป็นสามเณรองค์รูปแรกในพุทธศาสนา
 
ต่อมาพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบข่าวพระกุมารราหุลได้ทำการบรรพชาเป็นสามเณรในพุทธศาสนาแล้ว ก็ทรงเสียพระทัยมาก เพราะทรงหวังให้พระราหุลเป็นรัชทายาทสืบราชสันติวงศ์ต่อไป พระองค์จึงเสด็จไปตัดพ้อต่อว่าพระพุทธเจ้า และทูลของพรว่า ต่อไปถ้าจะบวชให้ใครอีก ขอให้มารดาบิดาของผู้จะบวชอนุญาตเสียก่อน พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้เป็นไปตามคำทูลขอ โดยมีข้อกำหนดว่า ผู้ที่จะเข้ามาบวช "จะต้องได้รับอนุญาตจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้บังคับบัญชาเสียก่อน"
 
สามเณรราหุลบรรพชาเมื่ออายุ 7 ปี พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้ฟังมากมายหลายเรื่อง เมื่ออายุครบ 20 ปี ก็ได้อุปสมบทเป็น[[พระภิกษุ]] ท่านได้ตามเสด็จพระพุทธเจ้าไปยังป่าอันธวัน แขวงเมืองไพศาลี [[แคว้นวัชชี]] หลังจากได้ฟัง "จูฬราหโลวาทสูตร" จากพระพุทธองค์ ก็สำเร็จบรรลุเป็น[[พระอรหันต์]] พระราหุลเถระ ได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ว่า "[[เอตทัคคะ]]"(ผู้เลิศกว่าคนอื่นในด้านใคร่การศึกษา) คือ ชอบการศึกษาหรือขยันหมั่นในการเล่าเรียน