ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan ย้ายหน้า Sickle-cell anemia ไปยัง โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว: ชื่อภาษาไทย
แจ้งละเมิดลิขสิทธิ์ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ละเมิดลิขสิทธิ์|url= http://healthfood.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=20&id=18061 |วันที่=29/8/2555 |หมายเหตุ= }}
{{issues|เก็บกวาด=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
=='''Sickle cell anemia'''==
 
===โรคโลหิตจางเม็ดเลือดแดงรูปเคียว===
 
ชื่อเรียกอื่นๆ เช่น Hemoglobin S disease ,HbS disease ,Sickle cell disorders และ Sickle cell disease
'''สาเหตุของการเกิดโรค'''
โรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเบสของยีนเบตาโกลบิล ที่ควบคุมการสร้างสายโปรตีน (Polypeptide) สายเบต้าของฮีโมโกลบิน (ในเม็ดเลือดแดงของคน
แต่ละเม็ดมีฮีโมโกลบินประกอบอยู่ถึง 280 ล้านโมเลกุล แต่ละโมเลกุลของฮีโมโกลบินประกอบด้วยโปรตีน 1 โมเลกุล และสารอินทรีย์ 4 หน่วยซึ่งมีอะตอมของธาตุเหล็กอยู่ตอนกลาง)
ยีนเบตาโกลบินที่ผิดปกติ จะมีลำดับเบสบนยีนเปลี่ยนจาก CTC ไปเป็น CAC ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโนที่สร้างขึ้น
ยีนเบตาโกลบินในคนปกติแปลรหัสเป็นกรดกลูตามิก แต่ในคนที่เป็นโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ กลับมีการแปลรหัสเป็นวาลีน
ทำให้เป็นโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ (Sickle cell anemia) โดยมีเม็ดเลือดแดงรูปร่างเหมือนเคียวเกี่ยวข้าว
 
'''ผู้ค้นพบ''' : Jame B. Herrick
'''อาการของโรค''' : โรคนี้ได้มีความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของ hemoglobin เป็นสาเหตุให้เซลล์เม็ดเลือดแดง กลายเป็น C-shaped ซึ่งโดยปกติแล้วตัวเม็ดเลือดแดง(RBC)จะมีความ
ยืดหยุ่นได้ระดับหนึ่ง เพื่อง่ายต่อการเคลื่อนที่ไปยังหลอดเลือดต่างๆส่วนปลาย ซึ่งจะมีขนาดเล็กและคดเคี้ยว แต่ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ ตัวRBC จะเสียความยืดหยุ่นไป ทำให้เกิดการอุดตันของRBC
ในหลอดเลือดบริเวณต่างๆ อีกทั้ง Sickle cell จะตายและแตกง่ายกว่าเซลล์ปกติ ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง
'''วิธีการตรวจสอบว่าเป็นโรค Sickle cell anemia''' : ไฮบริไดเซชั่น เป็นเทคนิคที่มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งในงานวิจัยด้านอณูชีวโมเลกุลและการแพทย์
 
'''วิธีรักษา''' : เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่อย่างไรก็ตาม การรักษาจะช่วยบรรเทาอาการและช่วยรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ดังนี้
 
1.รักษาอาการปวด : โดยใช้ยาแก้ปวด เช่น Paracetamol, Ibuprofen และ Diclofenac แต่ถ้ามีอาการปวดมากอาจต้องใช้ยาในกลุ่มที่เป็น อนุพันธ์ของฝิ่น เช่น Morphine และ Meperidine
 
2.การป้องกันการติดเชื้อ
 
2.1. เริ่มให้ penicillin แก่เด็กที่เป็น sickle cell disease ตั้งแต่อายุ 2 เดือนต่อเนื่องไปจนอายุ 5 ปี
 
2.2. ให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดร่วมกับวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ(meningococcal vaccine) ทุกปี
 
[[ar:فقر الدم المنجلي]]
[[bg:Сърповидно-клетъчна анемия]]
[[bn:কাস্তে-কোষ ব্যাধি]]
[[ca:Anèmia de cèl·lules falciformes]]
[[cs:Srpkovitá anémie]]
[[de:Sichelzellenanämie]]
[[en:Sickle-cell disease]]
[[eo:Serpoĉela anemio]]
[[es:Anemia falciforme]]
[[et:Sirprakuline aneemia]]
[[fa:کم‌خونی داسی‌شکل]]
[[fi:Sirppisoluanemia]]
[[fr:Drépanocytose]]
[[gl:Anemia drepanocítica]]
[[gu:સિકલસેલ એનીમિયા રોગ]]
[[he:אנמיה חרמשית]]
[[hi:सिकल-सेल रोग]]
[[hr:Anemija srpastih stanica]]
[[id:Anemia sel sabit]]
[[it:Anemia drepanocitica]]
[[ja:鎌状赤血球症]]
[[kk:Орақ тәрізді-клеткалы қаны аздық]]
[[kn:ಕುಡಗೋಲು-ಕಣ ರೋಗ]]
[[ko:겸형 적혈구 빈혈증]]
[[ml:അരിവാൾ കോശ വിളർച്ച]]
[[mr:सिकलसेल]]
[[nl:Sikkelcelanemie]]
[[pl:Anemia sierpowata]]
[[pms:Anemìa faussiforma]]
[[pt:Anemia falciforme]]
[[rn:Sickle-cell]]
[[ro:Anemia falciformă]]
[[ru:Серповидноклеточная анемия]]
[[simple:Sickle-cell disease]]
[[sl:Srpastocelična anemija]]
[[sr:Српаста анемија]]
[[sv:Sicklecellanemi]]
[[zh:鐮刀型紅血球疾病]]