ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ช้างดำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
'''หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล''' ท.จ., จ.ป.ร 5 , ว.ป.ร 2 , ป.ป.ร 4 ([[25 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2424]] - [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2486]]) อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้จัดการของ[[โรงเรียนราชินี]] และ [[โรงเรียนราชินีบน]] ผู้ทรงมีคุณูปการอย่างยิ่งแก่วงการการศึกษาของสตรีไทย
 
== พระประวัติ ==
หม่อมเจ้าหญิงพิจิตรจิราภา เทวกุล ทรงเป็นพระธิดาองค์ที่ 3 ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] กับ[[หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา]] ( สกุลเดิม สุจริตกุล ) ประสูติเมื่อวันที่ [[25 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2424]] ณ วังสะพานถ่าน ( ปัจจุบัน เป็น ตลาดบำเพ็ญบุญ ) ได้รับพระราชทานพระนาม "พิจิตรจิราภา" จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
เส้น 65 ⟶ 66:
 
6. กรรมการกลางอนุสภากาชาด
 
ฯลฯ
 
พระปรีชาสามารถของพระองค์อีกสิ่ง ที่สำคัญ คือ ด้าน[[กวีนิพนธ์]] ได้ทรงพระนิพนธ์ กาพย์ กลอน ไว้มากมาย ทั้งที่เป็นบทดอกสร้อย บทเพลง บทละครตลอดจนคำอวยพรที่ประทานให้นักเรียนอีกมาก พระนิพนธ์ที่สำคัญชิ้นหนึ่ง คือ พระนิพนธ์ " เรื่องการศึกษาของโรงเรียนผู้หญิง " ลงพิมพ์ในหนังสือดุสิตสมิต ฉบับพิเศษ พ.ศ. 2463
เส้น 74 ⟶ 73:
หม่อมเจ้าหญิงพิจิตรจิราภา เทวกุล สิ้นชีพิตักษัย เมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2486]] ด้วยอาการพระหทัยวายเฉียบพลัน ณ บ้านตากอากาศของคุณหญิงสวาท โทณวณิกมนตรี อำเภอบางแสน จังหวัดชลบุรี สิริพระชนมายุ 62 พรรษา
 
{{เรียงลำดับ|พิจิตรจิราภา เทวกุล}}
{{เกิดปี|2420}}{{ตายปี|2486}}
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้า|พิจิตรจิราภา เทวกุล]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลเทวกุล]]
[[หมวดหมู่:พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4]]