ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมคิด เลิศไพฑูรย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
Chen Zhaofu (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 80:
ในการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]] สมคิดได้ร่วมร่างรัฐธรรมนูญปี 50<ref name="สกุณา ประยูรศุข"/> จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า เป็นไฉนเขาจึงร่วมหัวจมท้ายกับเผด็จการทหาร<ref name="สกุณา ประยูรศุข"/> สมคิดว่า เขาเรียนและสอนเรื่องรัฐธรรมนูญเรื่อยมา ถึงเวลาต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญ ก็ควรเข้าไปร่วม เพื่อให้เนื้อหาออกมาเป็นประชาธิปไตยมากที่สุด<ref name="สกุณา ประยูรศุข"/>
 
ต่อมา เมื่อ[[สุรพล นิติไกรพจน์]] อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมธรรมศาสตร์ สิ้นสุดวาระอยู่ในตำแหน่งลงใน พ.ศ. 2553 มีการหยั่งเสียงเพื่อสรรหาอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนใหม่ สมคิด เลิศไพฑูรย์ ซึ่งใกล้ชิดกับสุรพล ได้คะแนน 1,722 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 30 จากบรรดาผู้สมัครทั้งหมด<ref>มติชน. (2552). ''' "สมคิด เลิศไพฑูรย์"คว้าชัยผลหยั่งเสียง"อธิการบดีมธ." ครองใจทั้งครู นศ. และจนท..''' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1282734943&grpid=&catid=04]. (เข้าถึงเมื่อ: 27 สิงหาคม 2553).</ref> ในการเลือกตั้งอธิการบดีฯ ณ วันที่ 18 ตุลาคม ของปีเดียวกัน สมคิดจึงชนะไปด้วยคะแนนเสียง 25 คะแนน<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1287391735&grpid=03&catid= สมคิด เลิศไพฑูรย์ ลอยลำ อธิการบดีคนใหม่ ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยม.ธรรมศาสตร์ เลือกด้วยคะแนน 25 เสียง จาก[[มติชน]] เข้าถึง 18 ตุลาคม พ.ศ. 2553]</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==