ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคคามากูระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "มินะโมะโตะแห่งโยะริโตะโมะ" → "โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ" ด้วยสจห.
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
== ประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:AntokuTennou Engi.7&8 Dannoura Kassen.jpg|thumb|200px|left|ยุทธนาวีทังโนะอุระ]]
ในช่วงปลาย[[ยุคเฮอัง]]ราชสำนักญี่ปุ่นเมือง[[เกียวโต]]ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของ[[ตระกูลไทระ]]ซึ่งมีผู้นำคือ[[ไทระ โนะ คิโยะโมะริ]] ในค.ศ. 1180 เจ้าชายโมะชิฮิโตะได้ออกประกาศรณรงค์สงครามให้ซะมุไรตระกูลเซวะเง็นจิ ({{nihongo2|清和源氏|Seiwa Genji}}) หรือตระกูลมินะโมะโตะที่ยังคงหลงเหลืออยู่ทั่วญี่ปุ่น ลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองตระกูลไทระ เป็นจุดเริ่มต้นของ[[สงครามเก็มเป]] ({{nihongo2|源平合戦|Genpei kassen}}) [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ]] ({{nihongo2|源頼朝|Minamoto no Yoritomo}}) ด้วยความช่วยเหลือของ[[โฮโจ โทะกิมะซะ]] ({{nihongo2|北条時政|Hōjō Tokimasa}}) ตั้งตนเป็นใหญ่ในภูมิภาคคันโตทางภาคตะวันออกของญี่ปุ่น โดยมีฐานที่มั่นอยู่ที่เมือง[[คะมะกุระ]] ({{nihongo2|鎌倉|Kamakura}}) ในขณะเดียวกันในภาคตะวันตก[[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ]] สามารถเอาชนะตระกูลไทระได้ใน[[ยุทธนาวัดังโนะอุระ]] ({{nihongo2|Dan-no-ura|壇ノ浦}}) ในค.ศ. 1185 ทำให้ตระกูลไทระต้องพบกับจุดจบลงและอำนาจในการปกครองย้ายมาอยู่ที่โยะริโตะโมะ ในค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะได้รับการแต่งตั้งให้เป็น''เซอิไทโชกุน'' ({{nihongo2|征夷大将|Seii Taishōgun}})
สมัยคะมะคุระเป็นสมัยแรกที่นักรบหรือซะมุไร (侍, samurai) ขึ้นมากลายเป็นชนชั้นปกครองแทนที่พระจักรพรรดิและนักปราชญ์ที่เป็นพลเรือนดังที่เคยเป็นมาใน[[ยุคเฮอัง]] เป็นจุดเริ่มต้นของญี่ปุ่นสมัยศักดินา ในช่วงปลายสมัยเฮอังราชสำนักที่[[เกียวโต]]เกิดความขัดแย้งระหว่างตระกูลไทระ (平, Taira) และ[[ตระกูลมินะโมะโตะ]] (源, Minamoto) จนนำไปสงครามเง็นเป (源平合戦, Genpei kassen) ฝ่ายตระกูลมินะโมะโตะนำโดย[[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ|โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ]] (源 頼朝, Minamoto no Yoritomo) ได้รับชัยชนะในยุทธนาวีทังโนะอุระ (Dan-no-ura, 壇ノ浦) เมื่อค.ศ. 1185 ทำให้มินะโมะโตะ โยะริโตะโมะมีอำนาจเสมอเหมือนเป็นเจ้าผู้ปกครองญี่ปุ่นแทนที่พระจักรพรรดิ สงครามทำให้ชนชั้นนักรบได้เข้าครอบครองที่ดินต่างๆซึ่งแต่ก่อนเป็นของราชสำนักเกียวโต โดยนักรบที่เป็นนายจะแบ่งที่ดินให้แก่ข้ารับใช้ของตนตามระบอบศักดินา ในค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะได้รับแต่งตั้งจากพระจักรพรรดิโก-โทบะ (後鳥羽, Go-Toba) เป็น''เซอิไทโชกุน'' (征夷大将, Seii Taishōgun) และโยะริโตะโมะจัดตั้งฐานอำนาจของตนที่เมือง[[คะมะกุระ]] (鎌倉, Kamakura) ซึ่งเป็นเมืองขนาดเล็กไม่มีความหรูหราเช่นเกียวโตทำให้ศูนย์การปกครองที่คะมะคุระถูกเรียกว่า รัฐบาลเต็นต์ หรือ ''บะกุฟุ'' (幕府, bakufu) โดยมินะโมะโตะมีอำนาจโดยตรงในแถบคันโต ในขณะที่ทางตะวันออกอันห่างไกลหรือแคว้นโทโฮคุนั้นเป็นของ[[ตระกูลฟุจิวาระ]] และดินแดนทางตะวันตกส่วนใหญ่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของราชสำนักเกียวโต
 
สมัยคะมะคุระเป็นสมัยแรกที่นักรบหรือซะมุไร ({{nihongo2|侍|samurai}}) ขึ้นมากลายเป็นชนชั้นปกครองแทนที่พระจักรพรรดิและนักปราชญ์ที่เป็นพลเรือนดังที่เคยเป็นมาในยุคเฮอัง มีผู้นำของการปกครองคือโชกุนซึ่งอาศัยอยู่ที่เมืองคะมะกุระ หรือเรียกว่า คะมะกุระ-โดะโนะ มีอำนาจเสมอเหมือนเป็นเจ้าผู้ปกครองญี่ปุ่นแทนที่พระจักรพรรดิ สถานที่จัดการปกครองไม่มีความหรูหราเช่นเกียวโตทำให้ศูนย์การปกครองที่คะมะคุระถูกเรียกว่า รัฐบาลเต็นต์ หรือ ''บะกุฟุ'' ({{nihongo2|幕府|bakufu}}) สงครามทำให้ชนชั้นนักรบได้เข้าครอบครองที่ดินต่างๆซึ่งแต่ก่อนเป็นของราชสำนักเกียวโต เป็นจุดเริ่มต้นของญี่ปุ่นสมัยศักดินา โดยนักรบที่เป็นนายจะแบ่งที่ดินให้แก่ข้ารับใช้ของตนตาม[[ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์]] (Feudalism)
เมื่อโยะริโมะโตะเสียชีวิตในค.ศ. 1199 มินะโมะโตะ โยะริอิเอะ (源 頼家, Monamoto no Yoriie) บุตรชายของโยะริโตะโมะอายุเพียงสิบเจ็ดปีได้เป็นโชกุนคนต่อมา อำนาจการปกครองจึงตกอยู่แก่ตระกูลโฮโจ (北条, Hōjō) ซึ่งเป็นตระกูลของโฮโจ มะซะโกะ (北条 政子, Hōjō Masako) ภรรยาของโยะริโตะโมะและมารดาของโยะริอิเอะ โดยบิดาของมะซะโกะและปู่ของโยะริอิเอะ คือ โฮโจ โทะกิมะซะ (北条 時政, Hōjō Tokimasa) ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการโชกุนหรือ''ชิกเก็น'' (執権, Shikken) คนแรก นับแต่นั้นมาโชกุนคะมะกุระจึงกลายเป็นหุ่นเชิดของผู้สำเร็จราชการแทนตระกูลโฮโจ แต่ทว่าตระกูลฮิกิ (比企, Hiki) ซึ่งเป็นตระกูลของภรรยาของโยะริอิเอะ ได้พยายามจะสร้างอำนาจและก่อการกบฎต่อตระกูลโฮโจขึ้นในค.ศ. 1203 ตระกูลโฮโจได้เข้าทำการกวาดล้างตระกูลฮิกิอย่างรุนแรงและโหดเหี้ยม โทะกิมะซะจึงปลดโชกุนโยะริอิเอะออกจากตำแหน่ง (และถูกลอบสังหารในปีต่อมา) และตั้งน้องชายของโยะริอิเอะคือ มินะโมะโตะ ซะเนะโตะโมะ (源 実朝, Minamoto no Sanetomo) เป็นโชกุนคนต่อมา แต่แล้วกลับเกิดข่าวลือว่า''ชิกเก็น'' โทะกิมาซะวางแผนจะปลดโชกุนซะเนะโมะโตะออก ทำให้มะซะโกะบุตรสาวและโยะชิโตะกิ (北条 義時, Hōjō Yoshitoki) บุตรชายผู้สืบทอดตำแหน่งของตนไม่พอใจ จึงเข้าทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากบิดาของตนในค.ศ. 1205 บังคับให้โทะกิมะซะปลงผมบวชเป็นพระภิกษุ โยะชิโตะกิจึงได้เป็น''ชิกเก็น''ต่อจากบิดา แต่โชกุนซะเนะโตะโมะกลับถูกลอบสังหารในค.ศ. 1219 ทำให้ตระกูลมินะโมะโตะสาขาเซวะ หรือ เซวะเง็นจิ (清和源氏, Seiwa Genji) ที่ดำรงตำแหน่งโชกุนอยู่ต้องสูญสิ้นไป ''ชิกเก็น''โยะชิโตะกิจึงมอบตำแหน่งโชกุนให้แก่[[ตระกูลคุโจ|คุโจ]] โยะริซึเนะ (九条 頼経, Kujō Yoritsune) อายุเพียงหนึ่งขวบที่มีเชื้อสายฟุจิวะระ
 
เมื่อโยะริโมะโตะเสียชีวิตในค.ศ. 1199 มินะโมะโตะ โยะริอิเอะ (源 頼家, Monamoto no Yoriie) บุตรชายของโยะริโตะโมะอายุเพียงสิบเจ็ดปีได้เป็นโชกุนคนต่อมา อำนาจการปกครองจึงตกอยู่แก่ตระกูลโฮโจ (北条, Hōjō) ซึ่งเป็นตระกูลของโฮโจ มะซะโกะ (北条 政子, Hōjō Masako) ภรรยาของโยะริโตะโมะและมารดาของโยะริอิเอะ โดยบิดาของมะซะโกะและปู่ของโยะริอิเอะ คือ โฮโจ โทะกิมะซะ (北条 時政, Hōjō Tokimasa) ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการโชกุนหรือ''ชิกเก็น'' (執権, Shikken) คนแรก นับแต่นั้นมาโชกุนคะมะกุระจึงกลายเป็นหุ่นเชิดของผู้สำเร็จราชการแทนตระกูลโฮโจ แต่ทว่าตระกูลฮิกิ (比企, Hiki) ซึ่งเป็นตระกูลของภรรยาของโยะริอิเอะ ได้พยายามจะสร้างอำนาจและก่อการกบฎต่อตระกูลโฮโจขึ้นในค.ศ. 1203 ตระกูลโฮโจได้เข้าทำการกวาดล้างตระกูลฮิกิอย่างรุนแรงและโหดเหี้ยม โทะกิมะซะจึงปลดโชกุนโยะริอิเอะออกจากตำแหน่ง (และถูกลอบสังหารในปีต่อมา) และตั้งน้องชายของโยะริอิเอะคือ มินะโมะโตะ ซะเนะโตะโมะ (源 実朝, Minamoto no Sanetomo) เป็นโชกุนคนต่อมา แต่แล้วกลับเกิดข่าวลือว่า''ชิกเก็น'' โทะกิมาซะวางแผนจะปลดโชกุนซะเนะโมะโตะออก ทำให้มะซะโกะบุตรสาวและโยะชิโตะกิ (北条 義時, Hōjō Yoshitoki) บุตรชายผู้สืบทอดตำแหน่งของตนไม่พอใจ จึงเข้าทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากบิดาของตนในค.ศ. 1205 บังคับให้โทะกิมะซะปลงผมบวชเป็นพระภิกษุ โยะชิโตะกิจึงได้เป็น''ชิกเก็น''ต่อจากบิดา แต่โชกุนซะเนะโตะโมะกลับถูกลอบสังหารในค.ศ. 1219 ทำให้ตระกูลมินะโมะโตะสาขาเซวะ หรือ เซวะเง็นจิ (清和源氏, Seiwa Genji) ที่ดำรงตำแหน่งโชกุนอยู่ต้องสูญสิ้นไป ''ชิกเก็น''โยะชิโตะกิจึงมอบตำแหน่งโชกุนให้แก่[[ตระกูลคุโจ|คุโจ]] โยะริซึเนะ (九条 頼経, Kujō Yoritsune) อายุเพียงหนึ่งขวบที่มีเชื้อสายฟุจิวะระ
 
กล่าวถึงราชสำนักเกียวโตอยู่ภายใต้อิทธิพลของ''บะกุฟุ''คะมะกุระ ความอ่อนแอลงของ[[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ]]เป็นโอกาสให้ราชสำนักเกียวโตทวงอำนาจคืน ในค.ศ. 1221 พระจักรพรรดิโก-โทบะทรงแต่งตั้งพระนัดดาขึ้นเป็นพระจักรพรรดิชูเกียว (仲恭, Chūkyō) โดยไม่รับความเห็นชอบจาก''บะกุฟุ'' และมีพระราชโองการประกาศให้''ชิกเก็น''โยะชิโตะกิเป็นอาชญากรมีความผิด นำไปสู่สงครามโจเคียว (承久の乱, jōkyū no ran) โยะชิโตะกิยกทัพ''บะกุฟุ''เข้าบุกยึดเมืองเคียวโตะ พระจักรพรรดิโกะโทะบะรวมทั้งพระโอรสและพระนัดดาต่างทรงถูกเนรเทศ นับแต่นั้นมาราชสำนักเกียวโตก็ตกอยู่ภายใต้อำนาจของ''บะกุฟุ''อย่างแท้จริง