9,292
การแก้ไข
(หน้าใหม่: {{ตารางจำแนกพันธุ์ | color =Lightblue | name = นกแซงแซวหางปลา ''Dicrurus macrocercus'' | image = | regnum =...) |
|||
{{Taxobox
|
| status = LC
| status_system = IUCN3.1
| status_ref = <ref>{{IUCN|id=106006034/0 |title=''Dicrurus macrocercus''| assessors = [[BirdLife International]] |version=2012.1 |year=2012 |accessdate=16 July 2012}}</ref>
| regnum = [[ANIMALIA]] (animals)▼
| image = Black_Drongo_(Dicrurus_macrocercus)_IMG_7702_(1)..JPG
| image_caption =
| classis = [[Aves]] (birds)▼
| ordo = [[Passeriformes]] (perching birds)▼
|
| familia = [[Dicruridae]]
| genus = ''[[Dicrurus]]''
| species = '''''
|
| binomial_authority = ([[Louis Jean Pierre Vieillot|Vieillot]], 1817)
| synonyms = ''Buchanga atra''<br/>
''Bhuchanga albirictus''<ref name=nz>{{cite book|editor=Neave, Sheffield A. |year=1939|title=Nomenclator Zoologicus; a List of the Names of Genera and Subgenera in Zoology from the Tenth Edition of Linnaeus, 1758, to the End of 1935 (with supplements). Volume 1|publisher= Zoological Society of London, London|page= 425|url=http://www.ubio.org/NZ/detail.php?uid=24210&d=1}}</ref>
| subdivision_ranks = [[Subspecies]]
| subdivision = ''D. m. macrocercus'' <small>([[Louis Jean Pierre Vieillot|Vieillot]], 1817)</small><ref>{{cite journal|last=Vieillot|first=Louis Jean Pierre|year=1817|journal=Nouveau Dictionnaire d'Histoire Naturelle Appliquée aux Arts|volume=9|pages=588}}</ref><br/>
''D. m. albirictus'' <small>([[Brian Houghton Hodgson|Hodgson]], 1836)</small><ref>{{cite journal|last=Hodgson|first=Brian Houghton|year=1836|journal=The India Review and Journal of Foreign Science and the Arts|volume=1|issue=8|pages=326}}</ref><br/>
''D. m. minor'' <small>[[Edward Blyth|Blyth]], 1850</small><ref>{{cite journal|last=Blyth|first=Edward|year=1850|journal=The Journal of the Asiatic Society of Bengal |volume=19|pages=255}}</ref><br/>
''D. m. cathoecus'' <small>[[Robert Swinhoe|Swinhoe]], 1871</small><ref>{{cite journal|last=Swinhoe|first=Robert|year=1871|journal=Proceedings of the Scientific Meetings of the Zoological Society of London for the Year |volume=2|pages=377}}</ref><br/>
''D. m. thai'' <small>[[Cecil Boden Kloss|Kloss]], 1921</small><ref name=Kloss/><!--Same page as other subspecies--><br/>
''D. m. javanus'' <small>[[Cecil Boden Kloss|Kloss]], 1921</small><ref name=Kloss>{{cite journal|last=Kloss|first=Cecil Boden|series=10 |year=1921|journal=Journal of the Federated Malay States Museums |volume=pt. 3|pages=208}}</ref><br/>
''D. m. harterti'' <small>[[Edward Charles Stuart Baker|Baker]], 1918</small><ref>{{cite journal|last=Baker|first=Edward Charles Stuart|year=1918|journal=Novitates Zoologicae |volume=25|pages=299|url=http://biodiversitylibrary.org/page/3857129|title=Some Notes on the Dicruridae}}</ref><!--http://www.zoonomen.net/avtax/pa3g.html-->
|range_map = BlackDrongoMap.svg
|range_map_caption = การกระจายพันธุ์
}}
'''นกแซงแซวหางปลา''' ({{lang-en|Black Drongo }}, [[ชื่อวิทยาศาสตร์]] : '' Dicrurus macrocercus'') เป็นนก
== อนุกรมวิธาน ==
นกแซงแซวหางปลาจัดอยู่ในวงศ์นกแซงแซว มีชื่อ
▲ชื่อสกุลคำว่า Dicrurus เป็นคำที่มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ dikroos, dikros หมายถึงแยกเป็นแฉก และ oura แปลว่า หาง ซึ่งรวมความแล้วหมายถึง สกุลของนกที่มีหางเป็นแฉก ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของนกแซงแซว
▲ส่วนชื่อบ่งชนิด (specific epithet) macrocercus มาจากภาษากรีก คำว่า marokerkos แปลว่า หางยาว ดังนั้น ชื่อวิทยาศาสตร์ของนกแซงแซวหางปลา จึงหมายถึง นกที่มีหางยาวเป็นแฉก
== ลักษณะ ==
นกแซงแซวหางปลาตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ขนาดความยาวลำตัวประมาณ 28 เซนติเมตร ขนทั่วลำตัวมีสีดำเหลือบน้ำเงิน ปลายหางเป็นแฉกคล้ายหางปลาตะเพียน ปากบนขบปากล่าง ปากสีดำ ขาสีดำ เท้าสีดำ ตาแดงที่ม่านตา แต่ตาดำเป็นสีดำ
เป็นนกแซงแซวชนิดเดียวที่ชอบเกาะอยู่ ตามกิ่งไม้ที่โล่งแจ้ง ตามท้องทุ่งริมทางตามแหล่งน้ำ ไม่ชอบลงมาตามพื้นดิน มักหากินเพียงตัวเดียว หรืออยู่เป็นคู่ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ เป็นนกที่ไม่กลัวนกอื่น ▼
นกชนิดนี้ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-สิงหาคม ทำรังอยู่บนต้นไม้สูงด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ ขัดสานเป็นรูปถ้วย มีแอ่งตรงกลางไว้วางไข่รองด้วยขนสัตว์และหญ้าอ่อน วางไข่ครั้งละ 3-4 ฟอง<ref> [http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=24337 ศูนย์รวมข้อมูลสิ่งมีชีวิตในประเทศไทย]. </ref>▼
== การกระจายพันธุ์ ==
พบในอิหร่าน อินเดีย จีน ไต้หวัน ชวา อินโดจีน และในประเทศไทยเป็นนกประจำถิ่น พบทั่วไปเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ตั้งแต่ชุมพรลงไป ซึ่งจะพบว่าเป็นนกอพยพมาในช่วงฤดูหนาว
== พฤติกรรม ==
▲นกแซงแซวหางปลาเป็นนกแซงแซวชนิดเดียวที่ชอบเกาะอยู่ ตามกิ่งไม้ที่โล่งแจ้ง ตามท้องทุ่งริมทางตามแหล่งน้ำ ไม่ชอบลงมาตามพื้นดิน มักหากินเพียงตัวเดียว หรืออยู่เป็นคู่ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ เป็นนกที่ไม่กลัวนกอื่น หากมีนกอื่นมาใกล้จะไล่จิกตี สามารถร้องเลียนเสียงนกชนิดอื่น กินอาหารโดยบินออกจากที่เกาะโฉบจิกแมลงที่กำลังบิน<ref>Chari, N.; Janaki Rama Rao, N., Ramesh, R. & Sattaiah, G. (1982). "Comparative studies on flight characteristics, moment of inertia and flight behaviour of two fly-catchers, Dicrurus adsimilis and Merops orientalis". Ind. J. Exp. Biol. 20: 894–896.</ref> บางครั้งออกหากินฝูงเล็กๆ 3-6 ตัว
▲นกชนิดนี้ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-สิงหาคม ทำรังอยู่บนต้นไม้สูงด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ ขัดสานเป็นรูปถ้วย มีแอ่งตรงกลางไว้วางไข่รองด้วยขนสัตว์และหญ้าอ่อน วางไข่ครั้งละ 3-4 ฟอง<ref
== อ้างอิง ==
{{wikispecies|Dicrurus macrocercus}}
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:วงศ์นกแซงแซว]]
[[หมวดหมู่:นกที่พบในประเทศไทย]]
[[bn:ফিঙে]]
[[zh-min-nan:O͘-chhiu]]
[[br:Drongo roueel]]
[[en:Black Drongo]]
[[es:Dicrurus macrocercus]]
[[eu:Dicrurus macrocercus]]
[[fr:Drongo royal]]
[[gu:કાળો કોશી]]
[[ko:검은바람까마귀]]
[[hu:Királydrongó]]
[[ml:ആനറാഞ്ചി പക്ഷി]]
[[mr:कोतवाल (पक्षी)]]
[[ms:Burung Cecawi Hitam]]
[[my:ငှက်တော်]]
[[ja:オウチュウ]]
[[sv:Svart drongo]]
[[ta:இரட்டைவால் குருவி]]
[[zh:黑卷尾]]
|
การแก้ไข