ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20:
พ.ศ. 2553 [[American Heart Association|สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา]]และ[[International Liaison Committee on Resuscitation|คณะกรรมการประสานงานนานาชาติว่าด้วยการกู้ชีพ]]ได้ปรับปรุงแนงทางปฏิบัติการกู้ชีพขึ้นใหม่<ref name=CircEx10>{{cite journal |author=Field JM, Hazinski MF, Sayre MR, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S640–56 |year=2010 |month=November |pmid=20956217 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970889 |url=}}</ref>{{rp|S640}}<ref>{{cite journal |author=Hazinski MF, Nolan JP, Billi JE, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations |journal=Circulation |volume=122 |issue=16 Suppl 2 |pages=S250–75 |year=2010 |month=October |pmid=20956249 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970897 |url=}}</ref> มีการให้ความสัมพันธ์กับคุณภาพของการกู้ชีพ โดยเฉพาะอัตราเร็วและความลึกของการกดหน้าอกร่วมกับการไม่ทำให้เกิดภาวะหายใจเกิน<ref name=CircEx10/>{{rp|S640}} มีการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนการช่วยชีวิตสำหรับทุกช่วงอายุยกเว้นทารก โดยเปลี่ยนจาก ABC (ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียน) เป็น CAB (การกดหน้าอก ทางเดินหายใจ การหายใจ)<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยมีข้อยกเว้นเฉพาะผู้ป่วยที่ชัดเจนว่ามีภาวะหายใจหยุด เช่น จมน้ำ เป็นต้น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}}
===แบบมาตรฐาน===
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจที่แนะนำคือ 30:2<ref name=AHAHighlights>{{cite web |url=http://www.heart.org/idc/groups/heart-public/@wcm/@ecc/documents/downloadable/ucm_317350.pdf |title=Highlights of the 2010 American Heart Association Guidelines for CPR and ECC |format=pdf |work=American Heart Association |accessdate=}}</ref>{{rp|8}} ส่วนในเด็กหากมีผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแนะนำให้ใช้อัตราส่วน 15:2<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในทารกแรกเกิดใช้อัตราส่วน 3:1 เว้นแต่รู้อยู่ก่อนว่าเป็นภาวะหัวใจหยุดที่มีสาเหตุมาจากหัวใจโดยตรง (cardiac cause) ให้ใช้อัตราส่วน 15:2 ได้<ref name=CircEx10/>{{rp|S647}} หากได้เริ่มการช่วยหายใจขั้นสูงแล้ว (เช่น [[การใส่ท่อช่วยหายใจ|ใส่ท่อช่วยหายใจทางหลอดลม]] หรือ[[laryngeal mask airway|หน้ากากปิดกล่องเสียง]]) ให้ดำเนินการช่วยหายใจและกดหน้าอกไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องนับเป็นจังหวะอัตราส่วน โดยให้ช่วยหายใจด้วยอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที<ref>{{cite journal |author=Berg RA, Hemphill R, Abella BS, ''et al.'' |title=Part 5: adult basic life support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S685–705 |year=2010 |month=November |pmid=20956221 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970939 |url=}}</ref> ลำดับของการช่วยเหลือที่แนะนำคือให้เริ่มจากการกดหน้าอก ('''C'''hest compression) ช่วยทางเดินหายใจ ('''A'''irway) และตามด้วยการช่วยหายใจ ('''B'''reathing) คือลำดับ CAB เว้นแต่มีข้อบ่งชี้อื่น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยกดหน้าอกเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ความลึกของการกดหน้าอกสำหรับผู้ใหญ่และเด็กคือประมาณ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว) และในทารกคือประมาณ 4 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว)<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ใน ค.ศ. 2010 Resuscitation council ของอังกฤษยังแนะนำให้ใช้ลำดับการช่วยเหลือ ABC ในการช่วยกู้ชีพเด็ก<ref>{{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/pals.pdf|title=Resuscitation Council UK Paediatric Advanced Life Support Guidelines|accessdate=2010-10-24|format=PDF}}</ref> เนื่องจากการจับชีพจรอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ช่วยเหลือที่เป็นคนทั่วไปจึงได้ตัดขั้นตอนนี้ออก แม้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ก็ไม่แนะนำให้เสียเวลากับการพยายามจับชีพจรนานเกิน 10 วินาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในการกดหน้าอกผู้ใหญ่ให้ใช้สองมือ ในเด็กใช้มือเดียว และในทารกใช้สองนิ้ว<ref>{{cite book|coauthors=Mohun, Janet et al.|title=First Aid Manual|publisher=St John Ambulance, St Andrews Ambulance and British Red Cross}}</ref>
===แบบกดหน้าอกอย่างเดียว===
หมายถึงการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจ เป็นวิธีที่ให้ใช้ได้สำหรับผู้ช่วยเหลือที่ไม่ได้รับการฝึกฝนมาก่อนหรือไม่เชี่ยวชาญเนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถทำไปพร้อมกับรับคำแนะนำทางโทรศัพท์ได้โดยง่าย วิธีการกดหน้าอกเหมือนกันกับในวิธีมาตรฐานคือกดด้วยอัตราอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที เชื่อว่าการแนะนำให้มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจนี้จะทำให้มีผู้ช่วยเหลือที่สมัครใจจะเข้ามาช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นได้มากขึ้น