ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อวตาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต แก้ไข: lt:Avatara
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|||อวตาร (แก้ความกำกวม)}}
 
[[ไฟล์:Avatars.jpg|thumb|300px|"ทศาวตาร" หรือ "นารายณ์สิบปาง" หรือ อวตารทั้งสิบของ[[พระวิษณุ]] ตามความเชื่อของ[[ศาสนาฮินดู]] ลัทธิ[[ลัทธิไวษณพนิกาย]] (นับเวียนตามเข็มนาฬิกา) [[มัตศยาวตาร]] (ปลา), [[การกวนเกษียรสมุทร|กูรมาวตาร]] (เต่า), [[วราหาวตาร]] (หมูป่า), [[วามนาตาร]] (พราหมณ์ค่อม), กฤษณาวตาร ([[พระกฤษณะ]]), [[กัลกยาวตาร]] (อัศวินม้าขาว), [[พระพุทธเจ้าพระโคตมพุทธเจ้าในมุมมองของศาสนาฮินดู|พุทธาวตาร]] ([[พระโคตมพุทธเจ้า|พระศากยโคดมพุทธเจ้า]]), [[ปรศุรามาวตาร]] (รามผู้ถือขวาน), [[รามายณะ|รามจันทรวาตาร]] ([[พระราม]]), [[นรสิงหาวตาร]] (นรสิงห์, คนครึ่งสิงห์) ส่วนรูปตรงกลางเป็นรูปพระกฤษณะและเหล่าสาวก]]
 
'''อวตาร''' ([[ภาษาสันสกฤต{{lang-sa|สันสกฤต]]: अवतार, avatāra}}) คือการแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ของเทพเจ้า[[เทพ]]เจ้าองค์ต่างๆต่าง ๆ ตามความเชื่อของ[[ศาสนาฮินดู]] โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิ[[ลัทธิไวษณพนิกาย]] ถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว [[พระนารายณ์]]จะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ <ref name="Matchett">{{cite book|last=Matchett|first=Freda|title=Krishna, Lord or Avatara?: the relationship between Krishna and Vishnu|publisher=9780700712816|year=2001|page=4|url=http://books.google.com/?id=1oqTYiPeAxMC&pg=PA4 | isbn=9780700712816}}</ref><ref>Introduction to World Religions, by [[Christopher Hugh Partridge]], pg. 148, at [http://books.google.com/books?id=7lEFyGiP5r8C&pg=PA148&dq=avatar+supreme+Being+Vaishnavism&hl=en&ei=sE2ATPPYCMGBlAfE0oWUDg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=3&ved=0CC4Q6AEwAjgK#v=onepage&q=avatar%20supreme%20Being%20Vaishnavism&f=false Books.Google.com]</ref>
 
การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระนารายณ์ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ <ref name="Gale's">{{cite book|last=Kinsley|first=David|title=Gale's Encyclopedia of Religion|editor=Lindsay Jones|publisher=Thomson Gale|year=2005|edition=Second|volume=2|pages=707–708|isbn=0-02-865735-7}}</ref> รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน<ref name="Bryant">{{cite book| last=Bryant| first=Edwin Francis|title=Krishna: A Sourcebook| publisher=[[Oxford University Press]] US| year=2007| page=18 | isbn=9780195148916| url=http://books.google.com/?id=0z02cZe8PU8C&pg=PT32}}</ref> พระนารายณ์อวตารเป็นส่วนประกอบหลักของลัทธิไวษณพนิกาย หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรกๆแรก ๆ อยู่ใน[[ภควัทคีตา]]<ref name="Sheth">{{cite journal|doi=10.1353/pew.2002.0005|last=Sheth|first=Noel|date=Jan. 2002|title=Hindu Avatāra and Christian Incarnation: A Comparison|journal=Philosophy East and West|publisher=[[University of Hawai'i Press]]|volume=52|issue=1 (Jan. 2002)|pages=98–125|url=http://www.jstor.org/stable/1400135}}</ref>
 
มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของ[[พระศิวะ]]และ[[พระคเณศพิฆเนศวร]] และเทพีต่างๆต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือ[[ลัทธิศักติ]]<ref name="Sheth"/><ref name=""Hawley"">{{cite book|last=Hawley|first=John Stratton|coauthors=Vasudha Narayanan|title=The life of Hinduism|publisher=[[University of California Press]]|year=2006|pages=174|isbn=9780520249141|url=http://books.google.com/?id=7DLj1tYmoTQC&pg=PA174}}</ref> อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที่สุด
 
== อวตารในศาสนาฮินดู ==
บรรทัด 14:
[[ไฟล์:Varaha avtar, killing a demon to protect Bhu, c1740.jpg|right|thumb|วราหาวตาร - พระนารายณ์อวตารเป็น[[หมูป่า]]เพื่อปราบยักษ์]]
 
อวตารของ[[พระวิษณุ]]มีมากมายหลายปาง แต่อวตารซึ่งเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคืออวตารชุด "[[ทศาวตาร]]" (เป็นการสมาสคำว่า "ทศ" อันแปลว่า "(สิบ") เข้ากับคำว่า "อวตาร" จึงหมายถึง "อวตารทั้งสิบ") ซึ่งในประเทศไทยมักเรียกชื่อว่า "นารายณ์สิบปาง" รายชื่ออวตารทั้งสิบปางนั้นปรากฏอยู่ใน[[ครุฑปุราณะ]] (1.86.10"11)<ref>Garuda Purana (1.86.10-11)</ref>
 
ทั้งนี้ ตามการแบ่งเวลาเป็นยุคของศาสนาฮินดูนั้น อวตารสี่ปางแรกของพระองค์เกิดขึ้นใน[[สัตยยุค]] สามปางต่อมาเกิดขึ้นใน[[ไตรดายุค]] อวตารปางที่แปดเกิดขึ้นใน[[ทวาปรยุค]] ปางที่เก้าเกิดใน[[กลียุค]] และปางที่สิบซึ่งเป็นปางสุดท้ายจะเกิดขึ้นเมื่อถึงปลายกลียุค<ref>Matchett, p. 86.</ref>
บรรทัด 28:
# รามาวตาร - พระวิษณุอวตารเป็น[[พระราม]] กษัตริย์แห่งกรุง[[อโยธยา]] วีรบุรุษในมหากาพย์เรื่อง[[รามายณะ]]
# กฤษณาวตาร - พระวิษณุอวตารเป็น[[พระกฤษณะ]] กษัตริย์แห่งกรุง[[ทวารกา]] ผู้เป็นตัวละครหลักในคัมภีร์[[ภควตปุราณะ]] มหากาพย์[[มหาภารตะ]] และอนุศาสน์[[ภควัทคีตา]] อย่างไรก็ตาม ในทศวาตารฉบับดั้งเดิมนั้นกล่าวว่า[[พระพลราม]]ซึ่งเป็นพี่ชายของพระกฤษณะเป็นอวตารปางที่แปดของพระวิษณุ ส่วนพระกฤษณะนั้นคือต้นธารแห่งอวตารทุกปางที่ปรากฏในโลก<ref>O Keshava! O Lord of the universe! O Lord Hari, who have assumed the form of Balarama, the yielder of the prowl All glories to You! On Your brilliant white body You wear garments the color of a fresh blue rain cloud. These garments are colored like the beautiful dark hue of the River Yamuna, who feels great fear due to the striking of Your plowshare] [http://www.salagram.net/Dasavatara-page.htm#Sri Dasavatara stotra]</ref>
# พุทธาวตาร - พระวิษณุอวตารเป็น[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระศากยโคดมพุทธเจ้า]] ศาสดาใน[[ศาสนาพุทธ]]<ref>List of Hindu scripture that declares Gautama Buddha as 9th Avatar of Vishnu as follows
[Harivamsha (1.41) Vishnu Purana (3.18) Bhagavata Purana (1.3.24, 2.7.37, 11.4.23 name="Bhagavata Purana 1.3.24">[http://srimadbhagavatam.com/1/3/24/en1en1 Bhagavata Purana 1.3.24]</ref> ศาสดาใน[[ศาสนาพุทธ]] ความเชื่อนี้มาจากคัมภีร์[[ภาควตปุราณะ]]ซึ่งเรียบเรียงขึ้นหลัง[[คริสต์ศตวรรษที่ 9]]<ref>Estimated dates given by some notable scholars include: R. C. Hazra – 6th c., Radhakamal Mukherjee – 9th–10th c., Farquhar – 10th c., Nilakanta Sastri – 10th c., S. N. Dasgupta – 10th c.{{harvnb|Kumar Das|2006| pages=172–173}}</ref>
Garuda Purana (1.1, 2.30.37, 3.15.26) [Motilal Banarsidass, Delhi 1982.</ref><ref>Agni Purana (160.Narada Purana (2.72)Linga Purana (2.71) Padma Purana (3.252) etc. (Dhere Ramchandra Chintaman) [Dhere Ramchandra Chintaman, Shri Vitthal: ek maha samanvaya, Shri Vidya Prakashan, Pune, 1984 (Marathi</ref><ref>[http://srimadbhagavatam.com/1/3/en1 Bhagavata Purana, Canto 1, Chapter 3] – SB 1.3.24: "Then, in the beginning of Kali-yuga, the Lord will appear as Lord Buddha, the son of Anjana, in the province of Gaya, just for the purpose of deluding those who are envious of the faithful theist." ... SB 1.3.28: "All of the above-mentioned incarnations [avatars] are either plenary portions or portions of the plenary portions of the Lord [Krishna or Vishnu]"</ref><ref>O Keshava! O Lord of the universe! O Lord Hari, who have assumed the form of Buddha! All glories to You! O Buddha of compassionate heart, you decry the slaughtering of poor animals performed according to the rules of Vedic sacrifice.] [http://www.salagram.net/Dasavatara-page.htm#Sri Dasavatara stotra</ref><ref>[http://www.prabhupadavani.org/Gita/web/text/GT142.html Lecture 1974 by founder of ISKCON – A. C. Bhaktivedanta Swami Prabhupada] ''"Because people were addicted so much in violence, in killing the animals, therefore Buddha philosophy was needed"'</ref><ref>Vivekananda: May he who is the Brahman of the Hindus, the Ahura Mazda of Zoroastrians, the Buddha of Buddhists, the Jehovah of the Jews, the Father in Heavens of Christians, give strength to you to carry out your noble ideas!] Hinduism, in The World's Parliament of Religions, J. H. Barrows (Ed.), Vol. II, Chicago 1893, p. 978.</ref><ref>Radhakrishnan: If a Hindu chants the Vedas on the banks of the Ganges, ... if the Japanese worship the image of Buddha, if the European is convinced of Christ's mediatorship, if the Arab reads the Koran in the mosque ... It is their deepest apprehension of God and God's fullest revelation to them.] Eastern Religions and Western Thought, New York 1969, pp. 326–7.</ref><ref>name="Bhagavata Purana 1.3.24"/>[http://hinduwiki.com/index.php?title=Buddha_as_an_Avatar_of_Vishnu Buddha as an Avatar of Vishnu] at HinduWiki</ref><ref>[http://hinduism.about.com/library/weekly/aa052602a.htm Buddha: The Refiner of Hinduism?] (hinduism.about.com)</ref><ref>[http://www.hvk.org/articles/0501/22.html The Buddha as an Avatar of Vishnu] (article by A. Seshan from The Times of India)</ref><ref>[http://www.iop.or.jp/0414/anand.pdf Mahatma Gandhi and Buddhism] (pdf file)</ref><ref>The Complete Works of [[Swami Vivekananda]]/Volume 1/Addresses at The Parliament of Religions/Buddhism, the Fulfilment of Hinduism|Buddhism, the Fulfilment of Hinduism, by Swami Vivekananda</ref>
# กัลกยาวตาร - ในอนาคตกาลเมื่อถึงปลายกลียุค พระวิษณุจะอวตารมาเป็นบุรุษขี่ม้าขาวชื่อกัลกิ ("นิรันดร", "กาลเวลา", หรือ "ผู้บำราบความเขลา") เพื่อปราบยุคเข็ญ มีเรื่องราวปรากฏอยู่ใน[[กัลกิปุราณะ]]
 
เส้น 56 ⟶ 55:
=== อวตารกับวัชรยาน ===
 
ความเชื่อของชาวพุทธที่นับถือนิกาย[[วัชรยาน]] ถือว่า[[พระพุทธเจ้า]]และ[[พระโพธิสัตว์]]อวตารหรือแบ่งภาคได้เช่นเดียวกันเช่น พระ[[อาทิพุทธะ]]อวตารมาเป็น[[พระธยานิพุทธะ]] พระโพธิสัตว์อวตารเป็น[[ยิดัม]] นอกจากนี้ชาวพุทธใน[[ธิเบต|ทิเบต]]เชื่อว่า [[ทะไล ลามะไลลามะ]] เป็นอวตารของ[[พระอวโลกิเตศวรอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] และ[[ปันเชน ลามะ]]เป็นอวตารของ[[พระอมิตาภะพุทธะอมิตาภพุทธะ]] เป็นต้น<ref>''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''. พิมพ์ครั้งที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน. 2548. หน้า 78-79.</ref>
 
=== อวตารกับเถรวาท ===
 
ในความเชื่อของชาวพุทธนิกายเถรวาท จะไม่เชื่อว่าการอวตารมีจริง เพราะจิตนั้นมีดวงเดียว (ตามบทที่ว่า เอกะ จะรัง จิตตัง...) เพียงแต่เกิดดับตลอดเวลา เมื่อจิตนั้นเกิดเป็นเทพเจ้าไม่ว่าชั้นใดๆ หากแปลงกายเป็นมนุษย์ (เนรมิตขึ้นมาชั่วประเดี๋ยวประด๋าว เช่น พระอินทร์แปลงเป็นพราหมณ์แก่) โดยจิตเดิมยังอยู่เป็นเทพเจ้าบนสวรรค์นั้น มีจริง แต่การที่จิตนั้นลงมาเกิดอวตารเป็นมนุษย์ โดยการอยู่ในครรภ์ คลอดออกมา เจริญเติบโตเล่าเรียนรู้เลยทั้งๆทั้ง ๆ ที่ยังมีจิต (เหมือนกัน ดวงเดียวกัน) อีกดวง ยังเป็นเทพเจ้าบนสวรรค์นั้นเป็นไปตามความจริงไม่ได้ ตามหลักที่ปรากฏใน[[พระอภิธรรม]]<ref>''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''. พิมพ์ครั้งที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน. 2548. หน้า 78-79.</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{commonscat|Avatar}}
 
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธแบบทิเบต]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อวตาร"