ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเดื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
|}}
 
[[ไฟล์:Figs.jpg|thumb|left|ผลมะเดื่อสดผ่าให้เห็นเนื้อข้างใน]]
 
[[ไฟล์:DriedFigs1.JPG|thumb|left|ผลมะเดื่อแห้ง]]
'''มะเดื่อ''' หรือ '''มะเดื่อฝรั่ง''' หรือ '''มะเดื่อญี่ปุ่น''' ({{lang-en|Fig}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Ficus carica}}) เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล ''[[Ficus]]'' วงศ์ [[Moraceae]] เป็นพืชพื้นเมืองในแถบ[[ตะวันออกกลาง]]<ref>''The Fig: its History, Culture, and Curing'', Gustavus A. Eisen, Washington, Govt. print. off., 1901 </ref> เป็นพืชคนละสปีชีส์กับ[[มะเดื่ออุทุมพร]]หรือมะเดื่อชุมพร (''Ficus racemosa'') ที่เป็นไม้พื้นเมืองใน[[อินเดีย]]และ[[ศรีลังกา]]<ref>ประชิดวามานนท์. ไม่ประดับเพื่อการตกแต่ง. กทม. บ้านและสวน. 2550</ref>
 
มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่ก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่[[ซีเรีย]] [[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]<ref name = "มะเดื่อ"> นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. มะเดื่อฝรั่ง ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า149</ref> ปัจจุบันปลูกมากใน[[ยุโรปใต้]] สหรัฐ [[ตุรกี]] [[ออสเตรเลีย]] [[แอฟริกาใต้]] [[มาดากัสการ์]] ในอดีต ประเทศไทยจะนำเข้ามะเดื่อฝรั่งในรูปผลแห้ง เริ่มนำต้นเข้ามาปลูกครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 ที่[[ดอยอ่างขาง]]<ref name = "มะเดื่อ"/>
 
== การใช้ประโยชน์และความเชื่อ ==
{{คุณค่าทางโภชนาการ
[[ไฟล์:DriedFigs1.JPG|thumb|left| name=ผลมะเดื่อแห้ง]]
| kJ=1041
| protein=3.30 g
| fat=0.93 g
| carbs=63.87 g
| fiber=9.8 g |
| sugars=47.92 g
| iron_mg=2.03
| calcium_mg=162
| magnesium_mg=68
| phosphorus_mg=67
| potassium_mg=680
| zinc_mg=0.55
| vitC_mg=1.2
| pantothenic_mg=0.434
| vitB6_mg=0.106
| folate_ug=9
| thiamin_mg=0.085
| riboflavin_mg=0.082
| niacin_mg=0.619
| source_usda=1}}
มะเดื่อใช้กินเป็นผลไม้สด หรือใช้ทำขนม เช่น พาย พุดดิ้ง เค้ก [[ไอศกรีม]] แยม อบแห้ง ผสมในชาไข่มุก หรือใส่ขนมแทน[[ลูกเกด]] ผลแห้งนำไปคั่วแล้วป่นใช้แทน[[กาแฟ]] เป็นผลไม้ที่มีใยอาหารสูง เป็นยาระบาย <ref name = "มะเดื่อ"/>
 
ชาวอียิปต์และชาวกรีกเชื่อว่ามะเดื่อเป็นผลไม้ศักดิ์สิทธิ์ เป็นอาหารสำหรับนักกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณ<ref name = "มะเดื่อ"/> มีปรากฏใน[[ไบเบิล]]ของ[[ศาสนาคริสต์]]และ[[อัลกุรอ่าน]]ของ[[ศาสนาอิสลาม]]<ref>{{cite web|title=Foods of the prophet|url=http://www.islamonline.net/english/Science/2000/6/article3.shtml|publisher=[[IslamOnline]]}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Ficus carica}}
{{Wikisource1911Enc|Fig}}
 
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]