ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอโมฆสิทธิพุทธะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: ka:ამოგჰასიდჰი
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Buddha Infobox
| name = พระอโมฆสิทธิพุทธะ
| img = EMERALD buddha raining suit.JPG
| img = COLLECTIE TROPENMUSEUM Boeddhabeeld van de Borobudur voorstellende Dhyani Boeddha Amogasiddha TMnr 10025273.jpg
| img_size = 200px
| img_capt = [[พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร]] [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] กรุงเทพฯ สื่อถึงพระอโมฆสิทธิพุทธะ
| img_capt = ปฏิมากรรมรูปพระอโมฆสิทธิพุทธะ จาก[[บุโรพุทโธ]] [[จังหวัดชวากลาง]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]]
| landscape =
| sanskrit_name = อโมฆสิทฺธิพุทฺธ
บรรทัด 25:
 
== ความหมาย ==
ชื่อของพระอโมฆสิทธิหมายถึงผู้ที่มีความสำเร็จโดยสมบูรณ์ ทรงสถิตย์อยู่ทางทิศเหนือของพุทธมณฑล และเป็นตัวแทนของ[[ดวงอาทิตย์]]ยามเที่ยงคืน อันเป็นสัญญลักษณ์ของกิจกรรมทางจิตวิญญาณอันลี้ลับ เป็นประธานของกรรมโคตร ในทางปัญญาเป็นภาพสะท้อนของปัญญาญาณแบบสำเร็จทุกอย่างซึ่งเป็นการผสมผสานของปัญญาญาณทุกชนิดหลังจากบุคคลได้รู้แจ้งและแปรเปลี่ยนเป็นกิจกรรมเพื่อผู้อื่นอย่างแท้จริง ในทาง[[กิเลส]]เป็นตัวแทนของความอิจฉา เป็นการนำตนเองเป็นศูนย์กลาง ซึ่งตรงข้ามกับปัญญาญาณแบบรู้แจ้งจา
 
ใน[[คัมภีร์มรณศาสตร์ของทิเบต]] พระองค์จะปรากฏในวันที่สี่ของ[[บาร์โด]] พร้อมด้วยพระโพธิสัตว์คือ [[พระวัชรปาณีโพธิสัตว์]] ศรเวณี วิศคันภิฆ คันธะ และ ไนเวทยะ <ref>เชอเกียม ตรุงปะ รินโปเช. คัมภีร์มรณศาสตร์แห่งทิเบต แปลโดย อนุสรณ์ ตปิยานนท์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. มูลนิธิโกมลคีมทอง. 2536</ref>
 
== รูปลักษณ์ ==
 
===สี===
สีประจำพระองค์คือสีเขียว ซึ่งเป็นสีของความเคลื่อนไหว กระฉับกระเฉง หรือเป็นสีของธรรมชาติอันนิ่งสงบและผ่อนคลาย
 
===สัญลักษณ์===
สัญลักษณ์ประจำพระองค์คือวิศววัชระหรือคฑาไขว้ เป็นคฑาสองอัน ประกบทำมุม 90 องศาต่อกัน เป็นสัญลักษณ์แทนอำนาจทางจิตวิญญาณของพระพุทธเจ้าที่ไม่มีขีดจำกัด เป็นการรวมกันของพลังด้านบวกของจิตที่ขัดเกลาดีแล้วกับพลังด้านลบของสภาวะทางโลก
 
===ท่าทาง===
ท่าทางประจำพระองค์คืออภยมุทรา เป็นอาการที่สื่อถึงการปกป้องและคุ้มครองจิตจากอันตราย พระหัตถ์ขวายกขึ้นระดับอุระ หงายพระหัตถ์ออกด้านนอก พระหัตถ์ซ้ายวางบนพระเพลา
 
===พาหนะ===
พาหนะของพระองค์คือครุฑ ซึ่งตามความเชื่อของชาวจีนและชาวทิเบต ครุฑเป็นสัญลักษณ์แทนโลก จึงเป็นการสื่อว่าพระอโมฆสิทธิพุทธะเป็นพระธยานิพุทธะที่เกี่ยวข้องกับการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์โลก
 
===เสียง===
เสียงประจำพระองค์คือ "อาหฺ" เป็นเสียงที่ออกจากศูนย์ลมที่ร่างกายช่วงล่าง อันเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดปรุงแต่ง และสื่อถึงแรงสะเทือนที่สะท้อนการดำเนินไปของกรรมของสัตว์โลก
 
==อ้างอิง==
* ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. กทม. ศูนย์ไทยทิเบต. 2538
* สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะห้าพระองค์. กทม. ศูนย์ไทยธิเบต. 2547
<references />
 
[[หมวดหมู่:พระพุทธเจ้าตามคติมหายาน|อโมฆสิทธิพุทธะ]]
 
{{พระพุทธเจ้า}}
{{เทพในคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น}}
 
[[bo:དོན་གྲུབ།]]
[[cs:Amóghasiddhi]]
[[en:Amoghasiddhi]]
[[et:Amoghasiddhi]]
[[fr:Amoghasiddhi]]
[[hu:Amoghasziddhi]]
[[id:Amoghasiddhi]]
[[ja:不空成就如来]]
[[ka:ამოგჰასიდჰი]]
[[pl:Amoghasiddhi]]
[[pt:Amoghasiddhi]]
[[ru:Амогхасиддхи]]
[[sv:Amoghasiddhi]]
[[ta:அமோகசித்தி புத்தர்]]
[[zh:不空成就佛]]