ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคทเธอรีน เดอ เมดีชี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ชาร์ลส์" → "ชาลส์" ด้วยสจห.
LHM01154 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 90:
[[ไฟล์:Jeanne-albret-navarre.jpg|thumb|upright|200px|[[ฌานน์ที่ 3 แห่งนาวาร์|พระราชินีฌานน์แห่งนาวาร์]], โดย[[ฟรองซัวส์ โคลเอท์]], ค.ศ. 1570 ฌานน์ทรงมีพระราชสาส์นถึงพระโอรสอองรีในปี ค.ศ. 1572 ว่า: “สิ่งเดียวที่ (พระราชินีแคทเธอรีน) ทรงทำก็คือตรัสเย้ยหยันฉัน, และหันไปบอกคนอื่นตรงกันข้ามกับที่ฉันพูด&nbsp;... ทรงปฏิเสธทุกอย่าง, ทรงพระสรวลต่อหน้าฉัน&nbsp;... ทรงมีกิริยาที่น่าละอายที่ฉันใช้ความพยายามกดความรู้สึกที่ยิ่งเหนือไปกว่า[[กริเซลดา]] (Griselda) ”<ref>Quoted by Knecht, ''Catherine de' Medici'', 149.</ref>]]
[[ไฟล์:Margot.JPG|thumb|upright|200px|[[มาร์เกอรีตแห่งวาลัวร์]]โดย[[ฟรองซัวส์ โคลเอท์]]]]
เมื่อวันที่ [[17 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1563]] พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ก็ทรงได้รับการประกาศโดยรัฐสภาแห่งรูอองว่าทรงบรรลุนิติภาวะ แต่แท้จริงแล้วพระองค์ก็ไม่ทรงสามารถปกครองด้วยพระองค์เองได้และไม่แสดงความสนพระทัยในกิจการบ้านเมืองแต่อย่างใด.<ref>Frieda, 268; Sutherland, ''Ancien Régime'', 20.</ref> จากนั้นพระราชินีแคทเธอรีนทรงตัดสินพระทัยรณรงค์ในการบังคับใช้[[พระราชกฤษฎีกาแห่งอังบัวส์อ็องบวซ]]และเพิ่มความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยทรงจัดการการประพาสทั่วประเทศของพระเจ้าชาร์ลตั้งแต่เดือนมกราคม [[ค.ศ. 1564]] จนถึงเดือนพฤษภาคม [[ค.ศ. 1565]]<ref>Sutherland, ''Ancien Régime'', 15.</ref> นอกจากนั้นก็ทรงจัดการพบปะระหว่างพระองค์กับพระราชินีโปรเตสแตนต์[[ฌานน์ที่ 3 แห่งนาวาร์|ฌานน์แห่งนาวาร์]] (Jeanne III of Navarre) ที่ Mâcon และ[[เนรัค]] และทรงพบปะกับพระธิดาของพระองค์[[เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน|พระราชินีเอลิซาเบธแห่งสเปน]]ที่ Bayonne ไม่ไกลจากพรมแดนสเปน พระสวามี[[พระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปน|พระเจ้าฟิลลิป]]มิได้ทรงเข้าพบปะด้วยแต่ทรงส่ง[[เฟอร์นานโด อัลวาเรซแห่งโทเลโด ดยุกแห่งอัลบาที่ 3|ดยุกแห่งอัลบา]] (Fernando Álvarez de Toledo, 3rd Duke of Alba) ไปบอกพระราชินีแคทเธอรีนว่าให้เลิกทำตามพระราชกฤษฎีกาแห่งอังบัวส์ และควรจะหันมาใช้วิธีลงโทษผู้นอกรีตแทนที่<ref>Knecht, ''Catherine de' Medici'', 104, 107–8; Frieda, 224.</ref>
 
เมื่อวันที่ [[27 กันยายน]] [[ค.ศ. 1567]] ก็เกิดเหตุการณ์จู่โจมที่รู้จักกันว่า[[การจู่โจมแห่งโมซ์]] (Surprise of Meaux) โดยที่กลุ่มอูเกอโนท์พยายามโจมตีพระเจ้าชาร์ลโดยตรงซึ่งเป็นชนวนทำให้เกิดสงครามกลางเมือง<ref>Wood, 17.</ref> ราชสำนักไม่ทันรู้ตัวต้องหนีกลับไปปารีสกันอย่างระส่ำระสาย<ref>Frieda, 234; Sutherland, ''Secretaries of State'', 147.</ref> สงครามจบลงด้วยการลงนามใน[[สัญญาสันติภาพลองจูโม]] (Peace of Longjumeau) เมื่อวันที่ [[22 มีนาคม|22]]– [[23 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1568]] แต่ความไม่สงบและการนองเลือดก็ยังคงมีอยู่ต่อไป<ref>Frieda, 239; Knecht, ''Catherine de' Medici'', 118.</ref> [[การจู่โจมแห่งโมซ์]]เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้พระราชินีแคทเธอรีนทรงเปลี่ยนพระทัยในนโยบายที่มีต่อกลุ่มอูเกอโนท์ ตั้งแต่นั้นมาพระองค์ก็ทรงเลิกใช้วิธีประนีประนอมและหันมาใช้การกำหราบแทนที่<ref>Knecht, ''Catherine de' Medici'', 120.</ref> ทรงมีพระราชดำรัสกับนักการทูตจากเวนิสในเดือนกันยายนในปี [[ค.ศ. 1568]] ว่าสิ่งเดียวที่หวังได้จากกลุ่มอูเกอโนท์คือความหลอกลวงและทรงสรรเสริญการปกครองอย่างเหี้ยมโหดของ[[เฟอร์นานโด อัลวาเรซแห่งโทเลโด ดยุกแห่งอัลบาที่ 3|ดยุกแห่งอัลบา]]ในเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นผลให้กลุ่มผู้ปฏิวัติ[[คาลวินิส์ม]] (Calvinism) ถูกสังหารกันเป็นพันพันคน<ref>Frieda, 232.</ref>