ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YFdyh-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ar, bg, bs, ca, cs, da, de, el, es, et, fa, fi, fr, gl, he, hu, id, it, ja, ko, lv, mk, ms, nl, no, pl, pt, ro, ru, sh, sq, sv, ta, tr, uk, ur, vi, zh
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''โมเดลการเขียนโปรแกรม''' ({{lang-en|Programming paradigm}}) เป็นวิธีการพื้นฐานของ[[การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์]] โมเดลการเขียนโปรแกรมมี 4 โมเดลหลัก ได้แก่ [[การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ]] [[การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง]] (imperative programming) [[การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน]] (functional programming) และ[[การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ]] (logic programming) นอกจากโมเดลหลักทั้ง 4 แล้ว ยังมีอีกโมเดลหนึ่งซึ่งขยายความสามารถของโมดูลโปรแกรม โดยใช้วิธีการตัดแทรกโค้ด โมเดลนี้คือ [[การโปรแกรมเชิงหน่วยย่อย]] (aspect-oriented programming)
==ภาพรวม==
 
==ภาพรวม==
โมเดลการเขียนโปรแกรมเป็นการนามธรรมของระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น [[โมเดลของฟอน นอยแมน]] (Von Neumann model)เป็นโมเดลสำหรับคอมพิวเตอร์แบบลำดับ สำหรับ[[การคำนวณแบบคู่ขนาน]]มีโมเดลที่เป็นไปได้หลายโมเดลซึ่งมีหลายวิธีการที่โปรเซสเซอร์สามารถติดต่อกันได้ วิธีการพื้นฐานเช่น การใช้หน่วยความจำร่วมกัน การส่งข้อมูลให้กับหน่วยความจำอื่น หรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน
[[ภาษาโปรแกรม]]หนึ่ง ๆ สามารถรองรับ[[โมเดลการเขียนโปรแกรมหลายโมเดล]] ตัวอย่างเช่น ภาษา [[C++]] หรือ [[Object Pascal]] สามารถใช้เขียนได้ทั้งแบบ[[การโปรแกรมเชิงกระบวนการ]] และ[[การโปรแกรมเชิงวัตถุ]] หรือทั้งสองแบบในโปรแกรมเดียวกัน ผู้ออกแบบซอฟต์แวร์ และผู้เขียนโปรแกรมจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าโปรแกรมจะเขียนแบบใด