ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดคณิกาผล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] หญิงนางหนึ่งชื่อ แฟง มักเรียกกันว่า ยายแฟง เป็น[[การค้าประเวณี|เจ้าสำนักโสเภณี]]ชื่อ "โรงยายแฟง" อยู่ที่ตรอกเต๊า [[ถนนเยาวราช]] มีศรัทธาในพุทธศาสนา จึงชวนหญิงโสเภณีในสำนักของนางเอารายได้จากการค้าประเวณีมาลงขันกันสร้างวัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2376<ref name = "royin"/><ref name = "kcl"/>
 
ในงานสมโภชวัด ยายแฟงนิมนต์[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)|ขรัวโต]] ซึ่งสมัยนั้นยังไม่มีต่อมาได้สมณศักดิ์ใดเป็นสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) มาเทศน์ฉลอง หวังจะให้เทศน์สรรเสริญคุณงามความดีของนางในครั้งนี้ต่อที่ชุมชน แต่สมเด็จพระพุฒาจารย์ขรัวโตเทศน์สั่งสอนว่า ทำบุญเอาหน้า แม้จะเป็นบุญใหญ่ ก็ได้บุญน้อย นอกจากนี้ ขรัวโตยังว่า เงินของยายแฟงได้มาโดยไม่บริสุทธิ์ ยายแฟงจึงได้บุญไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย โดยเปรียบเปรียบเปรยว่า "ในการที่เจ้าภาพได้จัดการทำบุญเช่นนี้นั้น เป็นการทำบุญที่มีเบื้องหลังอยู่หลายประการ เป็นเหตุให้เหมือนกับว่า ในเงินทำบุญหนึ่งบาทนั้น ยายแฟงจะได้อานิสงส์เพียงแค่สลึงเฟื้องเท่านั้น"<ref name = "kcl">{{cite web|title=วัดคณิกาผล วัดที่เป็นผลได้มาจากหญิงโลมเมือง|publisher=[[คมชัดลึก]]|url=http://www.komchadluek.net/detail/20101125/80655/วัดคณิกาผลวัดที่เป็นผลได้มาจากหญิงโลมเมือง.html#.UCC9P6MkSSo|date=ม.ป.ป.|accessdate=7 สิงหาคม 2555}}</ref><ref>{{cite web|title=แนวคิดการเปลี่ยนชื่อวัด : กรณีศึกษา “วัดคณิกาผล”|publisher=สยามคัลเจอร์|url=http://www.siamculture.in.th/articleDetail.php?ArticleID=000001|date=16 พฤศจิกายน 2553|accessdate=7 สิงหาคม 2555}}</ref>
 
วัดนี้ เดิมไม่ได้ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "วัดใหม่ยายแฟง"<ref name = "royin"/> และนับตั้งแต่สร้าง ก็ได้เปิดทำสังฆกรรมต่อมาเป็นเวลานาน จนกระทั่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสู่ราชสมบัติแล้ว ลูกหลานของยายแฟงจึงบูรณะ และขอพระราชทานนามวัดจากพระมหากษัตริย์ ก็โปรดให้ว่า "วัดคณิกาผล" แปลว่า วัดที่สร้างขึ้นจากผลประโยชน์ของนางคณิกา คือ นางโสเภณี<ref name = "royin"/>