ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การล่มสลายของสหภาพโซเวียต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Justincheng12345-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ar, arz, eo, fa, lv, nl, tr ลบ: ca, hi, id, is, ro, simple, vi, war แก้ไข: es, fi, it, ko
Suisse (คุย | ส่วนร่วม)
มิคาอิล -> มีฮาอิล
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''การล่มสลายของ[[สหภาพโซเวียต]]''' เป็นชื่อเรียกช่วงเวลาระหว่าง ปี [[ค.ศ. 1985]] ถึง [[ค.ศ. 1991]] ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นาย [[มิคามีฮาอิล กอร์บาชอฟ]] เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต เขาได้เดินหน้าปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองของ[[สหภาพโซเวียต]] ภายใต้โครงการนโยบาย [[เปเรสตรอยกา]] และ [[กลาสต์น็อตกลาสนอสต์]] ซึ่งเป็นการเพิ่มสิทธิเสรีภาพของประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นเจ้าของธุรกิจส่วนบุคคล ซึ่งการปฏิรูปดังกล่าวทำให้ประชาชนในสหภาพโซเวียตตระหนักถึงเสรีภาพในการดำรงชีวิต ทำให้เกิดการล่มสลายของต่อมาจึงส่งผลให้สหภาพโซเวียตล่มสลายในปี ค.ศ. 1991 ในที่สุด{{อ้างอิง}}
 
== การขึ้นสู่อำนาจของกอร์บาชอฟ ==
[[ไฟล์:Gorbachev (cropped).jpg|[[มิคามีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]|thumb|200px|right]]
แม้ว่าการปฏิรูปก่อนหน้านั้นได้ล่าช้าลงในช่วงปี 1964-1982 แต่ว่าการที่คนรุ่นใหม่ได้มีอำนาจแทนคนรุ่นเก่าก็ได้สร้างสภาวะที่เหมาะแก่การปฏิรูปขึ้นอีกครั้ง ความสัมพันธ์ของ[[สหภาพโซเวียต]]กับ[[สหรัฐอเมริกา]]ที่เปลี่ยนแปลงไปก็ยังเป็นความจำเป็นหนึ่งของการปฏิรูป แม้ว่าประธานาธิบดี[[จิมมี คาร์เตอร์]] ได้ล้มเลิกนโยบายประนีประนอมหลังจากที่สหภาพโซเวียตโจมตี[[อัฟกานิสถาน]] แต่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก็ได้ขึ้นสูงสุดนับตั้งแต่เหตุการณ์[[วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา]] ในสมัยแรกของประธานาธิบดี[[โรนัลด์ เรแกน]]
 
ในเวลานั้นเอง [[มิคามีฮาอิล กอร์บาชอฟ]] ก็ได้สนับสนุนนโยบายที่จะนำไปสู่การล่มสลายทางการเมืองของสหภาพโซเวียต โดยการควบคุมเศรษฐกิจผ่านทางนโยบายกลาสนอสต์ (การเปิดกว้างทางการเมือง) เปเรสตรอยกา (การวางโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่) และอุสโคเรนิเย (การเร่งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ) เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตก่อนหน้านั้นได้รับผลเสียจากอัตราเงินเฟ้อแฝงและการขาดแคลนวัตถุดิบอันเนื่องมาจากการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ
 
== นโยบายเปเรสตรอยกาและกลาสนอสต์ ==
มิคาอิล กอร์บาชอฟ ได้เป็นผู้นำสหภาพโซเวียต นับตั้งแต่เดือนมีนาคม 1985 ไม่นานหลังจากการเสียชีวิตของคอนสแตนติน เคอร์เชนโก กอร์บาชอฟได้ริเริ่มการปฏิรูปทางการเมืองหลายอย่างภายใต้นโยบายที่เรียกว่า กลานอสต์ ประกอบด้วย การลดความเข้มงวดในการเซนเซอร์ การลดอำนาจหน่วยเคจีบี และการเสริมสร้างความเป็นประชาธิปไตย การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้นั้นมีจุดประสงค์เพื่อกำจัดการต่อต้านการปฏิรูปทางเศรษฐกิจจากกลุ่มอำนาจฝ่ายอนุรักษ์นิยมภายในพรรคคอมมิวนิสต์ ภายใต้การปฏิรูปนี้ ผู้ที่ดำรงตำแหน่งสำคัญๆ ในพรรคคอมมิวนิสต์คมีฮาอิลอมมิวนิสต์จะต้องมาจากการเลือกตั้ง (โดยสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์เอง)ซึ่งเป็นการใช้ระบบนี้ครั้งแรก ท่ามกลางการคัดค้านจากกลุ่มอนุรักษ์นิยม
 
อย่างไรก็ตาม การลดความเข้มงวดในการเซนเซอร์ควบคุมสื่อและความพยายามที่จะสร้างการเมืองที่เปิดกว้างมากขึ้นโดยกอร์บาชอฟ ได้ปลุกความรู้สึกชาตินิยมและต่อต้านรัสเซียในสาธารณรัฐเล็กๆเล็ก ๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในสหภาพโซเวียต ในคริสต์ทศวรรษ 1980 เสียงที่เรียกร้องอิสรภาพจากการปกครองจาก[[มอสโก]]ได้ดังขั้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในสาธารณรัฐแถบทะเลบอลติก คือ [[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] และ[[ลิทัวเนีย]] ที่รวมกับสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 1940 โดยโจเซฟ สตาลิน ความรู้สึกชาตินิยมนั้นก็ยังได้แพร่หลายในสาธารณรัฐอื่น ๆ เช่น [[ยูเครน]] [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]] และ[[อาเซอร์ไบจาน]] ขบวนการชาตินิยมเหล่านี้ได้เข้มแข็งขึ้นอย่างมากเมื่อเศรษฐกิจของโซเวียตตกต่ำ รัฐบาลที่กรุงมอสโกนั้นกลายเป็นแพะรับบาปของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แสดงว่า กอร์บาชอฟนั้นได้ปลดปล่อยพลังที่จะทำลายสหภาพโซเวียตไปแล้วโดยไม่ได้ตั้งใจ
 
[[หมวดหมู่:สหภาพโซเวียต]]