ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาคารชุนะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: lv:Nāgārdžuna
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Gurunagarjuna.jpg|thumb|พระนาคารชุนะ]]
[[ไฟล์:Nagarjuna at Samye Ling Monastery.JPG|thumb|รูปปั้นของพระนาคารชุนะ ในวัดพุทธแบบทิเบตแห่งหนี่งใน[[สหราชอาณาจักร]]]]
'''นาคารชุนะ''' (नागार्जुन ; โรมัน: {{lang-la|Nāgārjuna }}; เตลุกุ : {{lang-te|నాగార్జునా }}; จีน : {{Zh-all|龍樹)}}; (มีชีวิตในช่วงประมาณ พ.ศ. 700 - 800) เป็น[[นักปรัชญาอินเดีย]] เป็นผู้ก่อตั้งสำนักมัธยมกะ (ทางสายกลาง) ในนิกาย[[มหายาน]] แห่ง[[พุทธศาสนา]] และนับเป็นนักคิดชาวพุทธที่มีอิทธิพลสูงสุด ถัดจาก[[พระพุทธเจ้า]] เป็นที่ศรัทธาและกล่าวถึงในหมู่นักศึกษาพุทธศาสนาชาวยุโรปมาโดยตลอด ท่านเป็นนักปราชญ์ทาง[[พระพุทธศาสนา]]ที่มีผลงานโดดเด่นในด้าน[[ปรัชญา]]และ[[ตรรกวิทยา]] ผลงานสำคัญของท่านคือ '''มาธยมิกการิกา''' (มาธยมิกศาสตร์)อันเป็นพื้นฐานสำคัญของแนวคิดศูนยวาท ประกอบด้วยการิกา 400 การิกา ใน 27 ปริเฉท หนังสือเล่มนี้ได้รับการยกย่องตลอดมา และเป็นที่ยอมรับกันว่านัก[[ตรรกวิทยา]]ที่ยิ่งใหญ่กว่าพระนาคารชุนะไม่เคยมีปรากฏในโลก{{อ้างอิง}} ศาสนิกชนมหายานทุกนิกายยกย่องท่านในฐานะคุรุผู้ยิ่งใหญ่เสมอ อย่างไรก็ตาม ประวัติของท่านกลับไม่ชัดเจนเท่าที่ควร
 
== ประวัติ ==
เส้น 21 ⟶ 20:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ภรัต ซิงห์ อุปัธยายะ.''นักปราชญ์พุทธ''.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542.
* [[สุชิน ทองหยวก]].''ปรัชญามาธยมิก''.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2509.
เส้น 26 ⟶ 27:
* ________.''วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร''. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540.
* Kalupahana David J. ''Nagarjuna:The Philosophy of the Middle Way''. State University of New York Press, 1986.
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:นักปรัชญาอินเดีย]]