ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสร้างกลูโคส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YFdyh-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ar, bg, ca, cs, da, de, es, eu, fa, fi, fr, gl, he, id, it, ja, kk, lt, mk, ms, nl, no, pl, pt, ru, sr, sv, uk, zh
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การสร้างกลูโคส''' ({{lang-en|gluconeogenesis, ย่อ: GNG}}) เป็น[[วิถีเมแทบอลิซึม]]ที่เป็นการสร้าง[[กลูโคส]]จากสารคาร์บอนที่มิใช่[[คาร์โบไฮเดรต]] เช่น [[แลกเตต]] [[กลีเซอรอล]] และกรดอะมิโนกลูโคจีนิก (glucogenic amino acid) การสร้างกลูโคสเป็นหนึ่งในสองกลไกหลักที่มนุษย์และสัตว์อื่นหลายชนิดใช้ควบคุมระดับกลูโคสในเลือดมิให้[[ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ|ต่ำเกินไป]] (hypoglycemia) อีกวิธีหนึ่ง คือ [[การสลายไกลโคเจน]] (glycogenolysis)<ref>{{cite web |last=Silva | first=Pedro |title=The Chemical Logic Behind Gluconeogenesis | url=http://www2.ufp.pt/~pedros/bq/gng.htm | accessdate=September 8, 2009}}</ref>
 
การสร้างกลูโคสเป็นขบวนการที่พบทั่วไป ทั้งใน[[พืช]] [[สัตว์]] [[ฟังไจ]] [[แบคทีเรีย]]และ[[จุลินทรีย์]]อื่น ๆ<ref>{{cite book |title=Lehninger Principles of Biochemistry |year=2000 |publisher=Worth Publishers |location=USA |isbn=1-57259-153-6 |pages=724 |author=David L Nelson and Michael M Cox }}</ref> ในสัตว์กินพืช การสร้างกลูโคสเกิดในตับเป็นหลัก และไตส่วนนอก (cortex) รองลงมา ใน[[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]] การสร้างกลูโคสดูจะเป็นขบวนการที่เกิดต่อเนื่อง<ref>Young, J. W. 1977. Gluconeogenesis in cattle: significance and methodology. J. Dairy Sci. 60: 1-15.</ref> ในสัตว์อื่นหลายชนิด ขบวนการดังกล่าวเกิดในช่วง[[การอดอาหาร]] [[การอดอยาก]] การกินอาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำ หรือการออกกำลังกายหักโหม ขบวนการดังกล่าวเป็นแบบดูดพลังงานอย่างมากกระทั่ง ATP หรือ GTP ถูกนำมาใช้ ทำให้ขบวนการดังกล่าวเป็นแบบคายพลังงาน ตัวอย่างเช่น วิถีซึ่งนำจากไพรูเวตเป็นกลูโคส-6-ฟอสเฟตอาศัย ATP 4 โมเลกุล และ GTP 2 โมเลกุล การสร้างกลูโคสมักเกี่ยวข้องกับ[[คีโตซิส]] (ketosis) การสร้างกลูโคสยังเป็นเป้าหมายของการบำบัด[[เบาหวาน]]ชนิดที่ 2 เช่น เมทฟอร์มิน ซึ่งยับยั้งการสร้างกลูโคสและกระตุ้นให้เซลล์รับกลูโคสเข้าไป<ref name = Hundal>{{cite journal | author = Hundal R, Krssak M, Dufour S, Laurent D, Lebon V, Chandramouli V, Inzucchi S, Schumann W, Petersen K, Landau B, Shulman G | title = Mechanism by Which Metformin Reduces Glucose Production in Type 2 Diabetes | journal = Diabetes | volume = 49 | issue = 12 | pages = 2063–9 | year = 2000 | pmid = 11118008 | doi = 10.2337/diabetes.49.12.2063 | pmc = 2995498}} {{PDFlink|[http://diabetes.diabetesjournals.org/cgi/reprint/49/12/2063 Free full text]|82&nbsp;[[Kibibyte|KiB]]}}</ref> ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง เพราะคาร์โบไฮเดรตจากอาหารที่เกิดเมแทบอลิซึมได้มีแนวโน้มจะเกิดเมแทบอลิซึมโดยอวัยวะรูเมน การสร้างกลูโคสจึงเกิดขึ้นได้แม้จะไม่อดอาหาร กินอาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำ ออกกำลังกาย ฯลฯ<ref name=Beitz2004>Beitz, D. C. 2004. Carbohydrate metabolism. In: Reese, W. O. Dukes' physiology of domestic animals. 12th ed. Cornell Univ. Press. pp. 501-515.</ref>
 
== อ้างอิง ==