ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซอรูโลพลาสมิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มหมวดหมู่:โปรตีนแล้ว ด้วยฮอทแคต
บรรทัด 3:
โครงสร้างของเซอรูโลพลาสมินนั้นสามารถจับกับอะตอมทองแดงได้ 6 อะตอม จึงช่วยป้องกันการสะสมของ[[ทองแดง]]ในร่างกายได้ ซึ่งการที่มีทองแดงสะสมในร่างกายมากเกินไปจะทำให้เกิดโรค Wilson's disease หรือ โรคที่เกิดจาก[[ตับ]]ไม่สามารถขับทองแดงออกจากร่างกายได้ ซึ่งอาการของโรคคือจะพบเป็นวงแหวนสีทองแดง (Kayser Fleischer ring) รอบนัยน์ตา นอกจากนี้เซอรูโลพลาสมินนั้นสามารถจับกับทองแดงในพลาสมาในร่างกายมนุษย์ถึงร้อยละ 70 ขณะที่[[อัลบูมิน]]จะจับกับทองแดงเพียงร้อยละ 15 เท่านั้น
[[หมวดหมู่:วิทยาตับ]]
[[หมวดหมู่:โปรตีน]]
 
[[de:Caeruloplasmin]]