ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มุขนายกประจำมุขมณฑล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Archbishop Francis Xavier Keangsak Kowit Vanit 1.JPG|200px|thumb|rigth|พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ [[เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช]] [[อัครมุขนายก]][[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ]]องค์ปัจจุบัน<ref>[http://www.catholic.or.th/service/gallery/gallery_2010/santacruz2010/index.html ฉลองโบสถ์ซางตาครู้ส].เรียกข้อมูลวันที่ 13 ธ.ค. 2554</ref>]]
'''มุขนายกประจำมุขมณฑล'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', 2552, หน้า 433, 462</ref> ({{lang-en|diocesan bishop}}) ในประเทศไทยกรมการศาสนาให้เรียกว่า'''มุขนายกมิสซัง'''<ref>''ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ แยกศัพท์พุทธ-คริสต์'', 10 พฤษภาคม 2543</ref> ชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่า'''พระสังฆราชประจำสังฆมณฑล''' คือ[[มุขนายก]]ที่[[พระสันตะปาปา]]ทรงแต่งตั้งให้เป็นประมุขปกครอง[[มุขมณฑล]]หนึ่ง
 
== นิกายโรมันคาทอลิก ==
บรรทัด 11:
ในบางเขตปกครองในนิกายโรมันคาทอลิก ยังเป็นเขตปกครองขนาดเล็กหรือเพิ่งเริ่มตั้งคริสตจักร จึงยังไมมีมุขนายกประจำมุขมณฑล แต่พระสันตะปาปาก็ตั้งตำแหน่งอื่นมาทำหน้าที่ปกครองแทน ใน[[ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร]]กำหนดให้ตำแหน่งเหล่านี้มีอำนาจเท่ามุขนายกประจำมุขมณฑลได้ในบางกรณี ตำแหน่งเหล่านี้ได้แก่<ref>[http://www.intratext.com/IXT/ENG0017/_P1B.HTM Code of Canon Law, Can. 368]</ref>
*[[พรีเลตประจำดินแดน]] (territorial prelate)
*[[อธิการอารามประจำดินแดน]] (territorial abbot) คือ[[นักพรต]]ที่เป็นผู้ปกครอง[[อาราม]]หรือ[[แอบบีบีย์]]
*[[ผู้แทนพระสันตะปาปา]] (apostolic vicar) คือบาทหลวงที่เป็นประมุขมิสซัง
*[[พรีเฟกต์จากสันตะสำนัก]] (apostolic prefect)
บรรทัด 19:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ระบบการปกครองของศาสนาคริสต์มุขนายก]]
 
[[cs:Diecézní biskup]]