ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุมูลอิสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: vi:Gốc tự do
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อนุมูลอิสระ''' ({{lang-en|radical หรือมักใช้ว่า free radical}}) คือ [[อะตอม]] [[โมเลกุล]]หรือ[[ไอออน]]ซึ่งมี[[อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว]]หรือการจัดเรียงเป็นเชลล์เปิด (open shell) อนุมูลอิสระอาจมีประจุเป็นบวก ลบหรือเป็นศูนย์ก็ได้ ด้วยข้อยกเว้นบางประการ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหล่านี้ทำให้อนุมูลอิสระว่องไวต่อปฏิกิริยาสูง
[[ไฟล์:Radical.svg|thumb|อนุมูลอิสระในปฏิกิริยาเคมี]]
 
อนุมูลอิสระมีบทบาทสำคัญใน[[การสันดาป]] เคมีบรรยากาศ [[พอลิเมอไรเซชัน]] เคมีพลาสมา [[ชีวเคมี]] และกระบวนการทางเคมีอีกหลายอย่าง ในสิ่งมีชีวิต ซูเปอร์ออกไซด์ ไนตริกออกไซด์และผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาของมันควบคุมหลายกระบวนการ เช่น ควบคุมการบีบตัวของหลอดเลือด ซึ่งควบคุมความดันโลหิตอีกต่อหนึ่ง นอกจากนี้ อนุมูลอิสระยังมีบทบาทสำคัญในเมแทบอลิซึมตัวกลางของสารประกอบทางชีวภาพหลายชนิด
'''อนุมูลอิสระ''' ({{lang-en|radical และมีการใช้ free radical}}) หมายถึง สารซึ่งมี[[อิเล็กตรอน]]ซึ่งไม่มีคู่อยู่ในวงรอบของ[[อะตอม]] หรือ[[โมเลกุล]] เราให้ความสำคัญกับสารซึ่งมี[[ออกซิเจน]]เป็นศูนย์กลาง คือ hydroxyl radical, superoxide, peroxyl, alkoxyl และ oxides ของ nitrogen โดยปกติสารเหล่านี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาในร่างกายอยู่แล้ว โดยเฉพาะเวลามีธาตุ[[เหล็ก]] [[ทองแดง]] [[แมงกานีส]] [[โคบอลต์]] [[โครเมียม]] [[นิเกิล]] อยู่เป็นจำนวนน้อยๆ มักเกิดเป็น[[ปฏิกิริยาลูกโซ่]]และร่างกายก็จะมีระบบของ[[แอนติออกซิแด้นท์]]ขจัดออกไป แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอนุมูลอิสระจากภายนอกมากเกินไป ตัวอย่างเช่น ได้รับจากอาหารบางชนิด จากขบวนการประกอบอาหาร เช่น การย่างเนื้อสัตว์ที่มีส่วนประกอบของไขมันสูง การนำน้ำมันที่ใช้ทอดอาหารที่อุณหภูมิสูงๆ มาใช้อีก หรือจากสิ่งแวดล้อม เช่น แสงอาทิตย์ซึ่งมี[[รังสี]] ultraviolet [[การแผ่รังสี]] (radiation) รังสี x-ray หรือจากมลพิษ เช่น ควันบุหรี่ ก๊าซจากท่อไอเสียรถยนต์ ถ้าสารเหล่านี้มีมากกว่าความสามารถของแอนตี้ออกซิแด้นท์ในร่างกายจะขจัดหมด หรือในภาวะที่จำนวนแอนติออกซิแด้นท์ในร่างกายลดลง เช่น ผู้สูงอายุ ก็จะทำให้มีสารอนุมูลอิสระและสารที่ไม่ใช่อนุมูลอิสระเช่น ไฮโดเจนเพอออกไซด์ ซึ่งมีออกซิเจนเป็นศูนย์กลางเช่นกัน โดยรวมเรียกว่า reactive oxygen species (ROS) มากเกินไปก่อให้เกิดอันตรายได้
'''อนุมูลอิสระ''' ({{lang-en|radical และมีการใช้ free radical}}) หมายถึง สารซึ่งมี[[อิเล็กตรอน]]ซึ่งไม่มีคู่อยู่ในวงรอบของ[[อะตอม]] หรือ[[โมเลกุล]] เราให้ความสำคัญกับสารซึ่งมี[[ออกซิเจน]]เกิดขึ้นเป็นศูนย์กลาง คือ hydroxyl radical, superoxide, peroxyl, alkoxyl และ oxides ของ nitrogen โดยปกติสารเหล่านี้เกิดขึ้นโดยจากปฏิกิริยาในร่างกายอยู่แล้ว โดยเฉพาะเวลาอย่างยิ่ง เมื่อมีธาตุ[[เหล็ก]] [[ทองแดง]] [[แมงกานีส]] [[โคบอลต์]] [[โครเมียม]] [[นิเกิล]] อยู่เป็นจำนวนน้อยๆน้อย มักเกิดเป็น[[ปฏิกิริยาลูกโซ่]]และ โดยร่างกายก็จะมีระบบของ[[แอนติออกซิแด้นท์]]ขจัดออกไปกำจัดอนุมูลอิสระ แต่ถ้าหากร่างกายได้รับสารอนุมูลอิสระจากภายนอกมากเกินไป ตัวอย่างเช่น ได้รับจากอาหารบางชนิด จากขบวนการประกอบอาหาร เช่น การย่างเนื้อสัตว์ที่มีส่วนประกอบของไขมันประกอบสูง การนำน้ำมันที่ใช้ทอดอาหารที่อุณหภูมิสูงๆสูง ๆ มาใช้อีก หรือจากสิ่งแวดล้อม เช่น แสงอาทิตย์ซึ่งมีรังสี[[รังสีอัลตราไวโอเลต]] ultraviolet [[การแผ่รังสี]] (radiation) [[รังสี x-rayเอกซ์]] หรือจากมลพิษ เช่น ควันบุหรี่ ก๊าซ[[คาร์บอนมอนออกไซด์]]จากท่อไอเสียไอเสียรถยนต์ ถ้าสารเหล่านี้มีมากกว่าความสามารถของแอนตี้ออกซิแด้นท์ในร่างกายจะขจัดหมดเกินไป หรือในภาวะที่จำนวนแอนติออกซิแด้นท์ในร่างกายสามารถกำจัดอนุมูลอิสระได้ลดลง เช่น ผู้สูงอายุ ก็จะทำให้มีสารอนุมูลอิสระและสารที่ไม่ใช่อนุมูลอิสระเช่น ไฮโดเจนเพอออกไซด์ ซึ่งมีออกซิเจนเป็นศูนย์กลางเช่นกัน โดยรวมเรียกว่า reactive oxygen species (ROS) มากเกินไปก่อให้เกิดอันตราย เป็นสาเหตุของโรคภัยได้
 
ถ้าสารเหล่านี้มีมากกว่าความสามารถของแอนตี้ออกซิแด้นท์ในร่างกายจะขจัดหมด หรือในภาวะที่จำนวนแอนติออกซิแด้นท์ในร่างกายลดลง เช่น ผู้สูงอายุ ก็จะทำให้มีสารอนุมูลอิสระและสารที่ไม่ใช่อนุมูลอิสระเช่น ไฮโดเจนเพอออกไซด์ ซึ่งมีออกซิเจนเป็นศูนย์กลางเช่นกัน โดยรวมเรียกว่า reactive oxygen species (ROS) มากเกินไปก่อให้เกิดอันตรายได้
อนุมูลอิสระที่มากเกินไปจะเป็นอันตรายต่อ[[ไขมัน]] (โดยเฉพาะ low density lipoprotein) โปรตีน หน่วย[[สารพันธุกรรม]] [[DNA]] และ[[คาร์โบไฮเดรต]] ซึ่งจะไม่กล่าวถึงรายละเอียดในที่นี้ ทำให้เพิ่มอัตราการเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลายชนิด โรคที่สำคัญและมีการศึกษากันมาก ได้แก่ [[โรคหลอดเลือดตีบ]]และแข็งตัว [[โรคมะเร็ง]]บางชนิด Alzheimer's disease หรือ[[โรคความจำเสื่อม]] [[โรคไขข้ออักเสบ]] โรคความแก่ เป็นต้น
 
อนุมูลอิสระที่มากเกินไปจะเป็นอันตรายต่อ[[ไขมัน]] (โดยเฉพาะ low density lipoproteinไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ) โปรตีน หน่วย[[สารดีเอ็นเอ|หน่วยพันธุกรรม]] [[DNA]] และ[[คาร์โบไฮเดรต]] ซึ่งจะไม่กล่าวถึงรายละเอียดในที่นี้ ทำให้เพิ่มอัตราการเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลายชนิด โรคที่สำคัญและมีการศึกษากันมาก ได้แก่ [[โรคหลอดเลือดตีบ]]และแข็งตัว [[โรคมะเร็ง]]บางชนิด Alzheimer's disease หรือ[[โรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์]] [[โรคไขข้ออักเสบ]] โรคความแก่ เป็นต้น
เราจึงควรหลีกเลี่ยงการที่จะได้รับสารอนุมูลอิสระเข้าไปในร่างกาย เช่น มลพิษในสิ่งแวดล้อม ก๊าซจากท่อไอเสียรถยนต์ ควันบุหรี่ เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==