ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mitochondrial electron transport chain—Etc4.svg|thumb|400px|การขนถ่ายอิเล็คตรอนในไมโตคอนเดรียของยูคาริโอต และการสร้าง ATP]]
'''ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน''' ({{lang-en|Oxidative phosphorylation}}) เป็น[[วิถีเมแทบอลิซึม]]ซึ่งใช้พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอาหารเพื่อสร้าง[[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต]] (ATP) ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เก็บสะสมพลังงานเพื่อใช้ใน[[เมแทบอลิซึม]] แม้สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ บนโลกจะใช้สารอาหารต่างกัน แต่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยออกซิเจนแทบทุกชนิดล้วนเกิดปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันเพื่อสร้าง ATP สาเหตุที่วิถีนี้พบได้แพร่หลายอาจเป็นเพราะมันเป้นวิถีที่ทรงประสิทธิภาพในการปลดปล่อยพลังงาน เมื่อเทียบกับกระบวนการ[[การหมัก (ชีวเคมี)|การหมัก]]ทางเลือก เช่น ไกลโคไลสิสแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic glycolysis)
'''ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟ ฟอสโฟรีเลชั่น''' ({{lang-en|Oxidative phosphorylation}}) เป็นปฏิกิริยาการถ่ายเท[[อิเล็คตรอน]]ที่เกิดใน[[ไมโตคอนเดรีย]]เพื่อสร้าง[[พลังงาน]]จากการย่อยสลายสารอาหาร
 
ระหว่างปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน [[อิเล็กตรอน]]จะถูกขนส่งจากตัวให้อิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอน เช่น [[ออกซิเจน]] ใน[[ปฏิกิริยารีดอกซ์]] ปฏิกิริยารีดอกซ์เหล่านี้ปลดปล่อยพลังงาน ซึ่งถูกใช้เพื่อสร้าง ATP ใน[[ยูคาริโอต]] ปฏิกิริยารีดอกซ์เหล่านี้ดำเนินโดยโปรตีนคอมเพลกซ์ภายในผนังระหว่างเยื่อหุ้ม[[ไมโทคอนเดรีย]] ขณะที่ใน[[โปรคาริโอต]] โปรตีนเหล่านี้พบได้ในช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์ ชุดโปรตีนที่เกี่ยวโยงกันนี้เรียกว่า [[ลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน]] (electron transport chain) ในยูคาริโอต มีโปรตีนคอมเพลกซ์จำนวนห้าคอมเพลกซ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ขณะที่ในโปรคาริโอต อาจพบ[[เอนไซม์]]หลายชนิด โดยใช้ตัวให้และรับอิเล็กตรอนที่หลากหลาย
 
== แหล่งที่เกิด ==