ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปิน็อกกีโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า พินอคคิโอ ไปยัง ปิน็อกกีโอ
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "พินอคคิโอ" → "ปิน็อกกีโอ" +แทนที่ "เก็ปเปตโต" → "เจ็ปเปตโต" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Pinocchio.jpg|thumb|200px|ภาพวาด ''พินอคคิโอปิน็อกกีโอ'' โดย เอนริโค มัซซันติ ปี ค.ศ. 1883]]
 
'''พินอคคิโอปิน็อกกีโอ''' ({{lang-enit|Pinocchio}}) เป็น[[วรรณกรรมเยาวชน]][[ภาษาอิตาเลียน]] ผลงานของ [[คาร์โล คอลโลดิ]] (Carlo Collodi) [[นักประพันธ์]][[ชาวอิตาเลียน]] ตีพิมพ์ในปี [[ค.ศ. 1880]] เรื่องพินอคคิโอนี้ปิน็อกกีโอนี้ ได้กลายมาเป็นเรื่องอ่านเล่นคลาสสิคสำหรับเด็ก และแพร่หลายอย่างกว้างขวาง โดยมีการแปลเป็นภาษาต่างๆ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งยังมีการนำไปสร้างเป็น[[ภาพยนตร์]]มากกว่า 20 ครั้ง โดยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดนั้น เป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวของ [[วอลต์ ดิสนีย์]] (Walt Disney) ส่วนที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ ได้แก่ภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงในปี [[ค.ศ. 2002]] กำกับและแสดงโดย Roberto Benigni
 
พินอคคิโอปิน็อกกีโอ เป็นเรื่องราวการผจญภัยของหุ่นไม้ที่มีชีวิต กับพ่อผู้ยากจนของเขา ''เก็ปเปตโตเจ็ปเปตโต'' ซึ่งเป็นช่างไม้ พินอคคิปิน็อกกีโอมีลักษณะเด่นที่รู้จักกันดี คือ เมื่อพูดโกหก จมูกของเขาจะยาวขึ้น
 
คอลโดลินั้นไม่ได้ตั้งใจที่จะเขียนเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องสำหรับเด็กตั้งแต่แรก ในเนื้อเรื่องดั้งเดิมนั้น พินอคคิปิน็อกกีโอถูกแขวนคอตาย เนื่องจากทำความผิดนับครั้งไม่ถ้วน แต่ก็ได้แก้ไขในฉบับถัดมา ซึ่งตอนจบนั้น ได้แก้ให้หุ่นกระบอกนั้นกลายเป็นเด็กที่มีชีวิตจริงๆ ซึ่งก็เป็นตอนจบที่เรารู้จักกันดี
 
==คำวิจารณ์==
นักวิจารณ์หลายคนได้ให้ความเห็นว่า พินอคคิปิน็อกกีโอเป็นเรื่องราวของสังคมในสมัยนั้น โดยแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ความเป็นที่นับหน้าถือตา กับสัญชาตญาณของความเป็นอิสระ ในยุคสมัยที่มีธรรมเนียมปฏิบัติที่เคร่งครัด ภายใต้ภาพพจน์ของการสั่งสอนในรูปแบบของการมองโลกในแง่ดี แต่เรื่องนี้นั้นกลับเป็นเรื่องที่แดกดันและเหน็บแนม เกี่ยวกับรูปแบบธรรมเนียมวิธีที่เป็นทางการ และการวางตัวในสังคมโดยทั่วไปที่ดูไม่มีเหตุผล
 
รูปแบบของเรื่องนั้นเป็นแนวทันสมัย และได้เป็นรูปแบบนำร่องให้กับนักเขียนในยุดถัดมา ภาษาอิตาเลียนที่ใช้ในเรื่องนั้น มีภาษาของชาวเมือง[[ฟลอเรนซ์]] ผสมผสานอยู่ทั่วไปในเนื้อเรื่อง และแนวความคิดหลายอย่างในเรื่อง ก็กลายมาเป็นแนวความคิดที่ใช้กันทั่วไป เช่น คำกล่าวที่ว่า คนจมูกยื่นจมูกยาว หมายถึง คนโกหก
 
เรื่องพินอคคิโอนั้นปิน็อกกีโอนั้น ได้รับความสำเร็จอย่างรวดเร็ว แต่ในตระกูลชนชั้นสูงนั้นในช่วงแรกๆ ถือว่าเรื่องนี้ไม่เหมาะสมกับเด็กๆ ที่ได้รับการศึกษาที่ดีแล้ว
 
[[ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐ]] (Library of Congress) ถือว่าภาพยนตร์การ์ตูนของดิสนีย์นี้ มีความสำคัญทางวัฒนธรรม และได้อนุรักษ์ไว้ใน United States National Film Registry
 
คำว่า พินอคคิโอปิน็อกกีโอ (Pinocchio) ใน[[ภาษาอิตาเลียน]] มาจากคำว่า pino คือ [[ต้นสน]] รวมกับคำว่า occhio คือ [[ตา]]
 
==ตัวละครที่เกี่ยวข้อง==