ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boseoppa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{พุทธศาสนา}}
 
ในปัจจุบัน[[ประเทศอินโดนีเซีย]]จะเป็นประเทศนับถือ[[ป้าเช็งศาสนาอิสลาม]] แต่อดีตเคยมี[[พระพุทธศาสนา]]แบบ[[มหายาน]]เข้ามาประดิษฐานอยู่ [[พระพุทธศาสนา]]ได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ใน[[อินโดนีเซีย]]คือ [[โบโรบุดูร์]] หรือ [[บรมพุทโธ]] ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu)ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมือง[[ยอกจาการ์ตา]] (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และ[[พระวิหารเมนดุต]](Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี พ.ศ. 2012 ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่จึงเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาขณะที่พระพุทธศาสนาตกอยู่ในภาวะเสื่อมโทรมตลอดระยะเวลาอันยาวนาน และเป็นสาเหตุทีทำให้พระพุทธศาสนาแทบจะหายไปจากอินโดนีเซียในปัจจุบัน
 
== ประวัติ==
9 gag in thai
===ยุคเริ่มต้น===
[[พระพุทธศาสนา]]เข้ามาสู่ประเทศอินโดนีเซียใน[[พุทธศตวรรษที่ 3]] คราวที่[[พระเจ้าอโศกมหาราช]] ส่งพระโสณะ และพระอุตตระเดินทางมาเผยแผ่พุทธธรรม ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 12 ได้เกิดรัฐมหาอำนาจทางทะเลชื่อว่า [[อาณาจักรศรีวิชัย]] (Srivijaya) ซึ่งมีอิทธิพลตั้งแต่อินโดนีเซีย จนถึงคาบสมุทรมลายู รวมไปถึงทางใต้ของ[[ประเทศไทย]] อาณาจักรศรีวิชัยนี้ ศาสนิกส่วนใหญ่จะเป็นนิกาย[[มหายาน]] และแพร่หลายมาก และได้พบหลักฐานทางโบราณคดีมากมาย ได้แก่ พระพิมพ์ดินดิบ และ[[พระโพธิสัตว์]] เป็นต้น
 
===ราชวงศ์ไศเลนร์เซอร์===
กลาง[[พุทธศตวรรษที่ 13]] บน[[เกาะชวา]]ทางภาคกลาง ได้เกิดราชวงศ์ที่ยิ่งใหญ่ นามว่า '''[[ราชวงศ์ไศเลนร์เซอร์]]''' ซึ่งในเวลาต่อมา ราชวงศ์ไศเลนทร์ก็มีอำนาจปกครองอาณาจักรศรีวิชัยใน[[พุทธศตวรรษที่ 15]] และได้มีการติดต่อ[[ราชวงศ์ปาละ]] แห่งเบงกอล และได้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน โดยอาณาจักรศรีวิชัยได้ส่งพระภิกษุไปศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยนาลันทา]] ซึ่งกษัตริย์แห่งเบงกอลก็ให้การต้อนรับอย่างดี และทางเบงกอลก็ได้ส่งพระภิกษุ และช่างฝีมือดี มาเผยแผ่พุทธศาสนา และสอนศิลปะสมัยปาละ แก่ชาวนครศรีวิชัยด้วยบางระจัน
 
===ยุคมัชฌปาหิต===
พระพุทธศาสนาเสื่อมมาก ในสมัย[[พุทธศตวรรษที่ 19]] เมื่ออาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมลง และทำให้[[อาณาจักรมัชปาหิต]]เข้ามามีอำนาจแทน ซึ่งอาณาจักรนี้เป็น[[ฮินดู]] แต่ต่อมากษัตริย์มัชปาหิตพระองค์หนึ่ง นามว่า "[[ระเด่นปาทา]]" ทรงเกิดความเลื่อใสใน[[ศาสนาอิสลาม]] ทรงยกย่องให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และห้ามเผยแผ่พุทธศาสนา
 
===ยุครัฐสุลต่าน และยุคอาณานิคม===
ชาวพุทธในอินโดนีเซียช่วงนี้ ไม่ได้มีบทบาทเด่นๆใดๆเลย และกลายเป็นชนกลุ่มน้อย ภายใต้ชาวมุสลิม ซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ และเป็นเช่นนี้เรื่อยๆจนถึงยุค[[ฮอลันดา]]ปกครอง และได้รับเอกราช ชาวอินโดนีเซียพุทธนั้นส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันตกของ[[เกาะสันสกฤต]] [[เกาะบาลี]] เกาะบังกา-เกาะเบลิตุง และบางส่วนของ[[เกาะสุมาตรา]]
 
===ปัจจุบัน===
ชาวอินโดนีเซียที่นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานอยู่นั้นจะมีอยู่บนเกาะชวาได้แก่ ชาวชวา (นับถือพุทธศาสนาร้อยละ 1) และชาวซุนดา และจะมีชาวบาหลีบนเกาะบาหลี ซึ่งบางคนก็นับถือ[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]]แบบพื้นเมืองควบคู่กันไป และมีชาวซาซะก์บางคนที่นับถือศาสนาพุทธ และลัทธิวตูตลู ซึ่งเป็นศาสนาอิสลาม ที่รวมกับความเชื่อแบบฮินดู-พุทธ อยู่บ้างบนเกาะลอมบอก รวมไปถึง[[ชาวจีนโพ้นทะเล]]ที่อาศัยบนเกาะชวา ทุกๆปี ศาสนิกชนเหล่านี้จะมาประกอบพิธีใน[[วันวิสาขบูชา]]ที่[[บุโรพุทโธ]] ที่เมืองมุนตีลาน ที่อินโดนีเซียนี้ได้จัดตั้งสมคมเพื่อสอนพระพุทธศาสนาแก่เยาวชน มีการบรรยายธรรม ปฏิบัติสมาธิ ออกวารสาร เช่น วารสารวิปัสสนา และวารสารธรรมจารณี ซึ่งการปกครองดูแลศาสนิกชนในอินโดนีเซียจะขึ้นกับพุทธสมาคมในอินโดนีเซีย มีสำนักงานใหญ่ในกรุง[[จาการ์ตา]] มีสาขาย่อย 6 แห่ง
 
ปัจจุบันประเทศอินโดนีเซีนได้เริ่มมีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา โดยการริเริ่มจากพระสงฆ์ชาว[[ศรีลังกา]] และชาวพื้นเมือง ที่ได้รับการอุปสมบทจาก[[ประเทศพม่า]] และที่[[ประเทศไทย]] ใน[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] และ[[วัดเบญจมบพิตร]] ปัจจุบันศาสนาพุทธนั้นมีศาสนิกอยู่ประมาณ 150,000 คน หรือประมาณร้อยละ 1 ของประชากรชาวอินโดนีเซียทั้งหมด<ref> http://www.depag.go.id/index.php?menu=page&pageid=17</ref><ref>http://religiousfreedom.lib.virginia.edu/nationprofiles/Indonesia/rbodies.html</ref>
 
== ศาสนสถาน ==
เส้น 12 ⟶ 28:
 
== การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ==
การฟื้นฟูพระพุทธศาสนาได้เริ่มขึ้นใหม่อีกครั้งเมื่อประมาณ 10 กว่าปีมานี้ เป็นการริเริ่มโดยพระสงฆ์ชาว[[ลังกา]]และพระสงฆ์ชาวพื้นเมืองที่ได้รับการอุปสมบทไปจาก [[วัดบวรนิเวศวิหาร]]และ[[วัดเบญจมบพิตร]]ใน[[ประเทศไทย]] ในปี [[พ.ศ. 2512]] คณะสงฆ์ไทยได้ส่งพระธรรมทูตจาก[[ประเทศไทย]]ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน[[ประเทศอินโดนีเซีย]]ทั้งชวาภาคกลาง ภาคตะวันออก และตะวันตก ขณะนี้ยังมิได้สร้างวัดไทยขึ้นแต่ก็ได้เตรียมการที่จะสร้าสร้างวัดไทยขึ้นในสถานที่ไม่ห่างไกลจากมหาสถูปโบโรบุดูร์ไว้แล้ว ปัจจุบันพระธรรมทูตจาก[[ประเทศไทย]]มีสำนักงานเผยแผ่เป็นศูนย์กลางอยู่ที่สำนักงานพุทธเมตตา ตั้งอยู่เลขที่ 6959 ถนนเตอรูซานเล็มบังดี กรุงจาการ์ตา.
 
== อ้างอิง ==