ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลโชกุนคามากูระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
|s1 = การฟื้นฟูเค็มมุ
|date_start = 12 กรกฎาคม
|event_start = มินะโมะโตะแห่งโยะริโตะโมะ ถูกแต่งตั้งขึ้นเป็นปฐมโชกุนแห่งคะมะกุระ
|date_end = 18 พฤษภาคม
|event_end= [[การล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)|การล้อมคะมะกุระ]]
บรรทัด 46:
'''รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ''' ({{lang|ja|鎌倉幕府 ''Kamakura bakufu''}}) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารใน[[ญี่ปุ่น]] อันมีประมุขของรัฐบาลคือ[[โชกุน]] ตั้งแต่ ค.ศ. 1185 (หรือ 1192 อย่างเป็นทางการ) ถึง ค.ศ. 1333 ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่[[คะมะกุระ]]
 
ชื่อ[[ยุคคะมะกุระ]]นั้นมาจากเมืองหลวงของรัฐบาลโชกุน<ref>Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Kamakura-jidai" in {{Google books|p2QnPijAEmEC|''Japan Encyclopedia'', p. 459|page=459}}.</ref> ซึ่งตั้งแต่ ค.ศ. 1203 เป็นต้นไป [[ตระกูลโฮโจ]] ครอบครัวของภริยาปฐมโชกุนโยะริโตะโมะ ก็เข้ากุมอำนาจทั้งหมด ในตำแหน่งที่เรียกว่า "ชิกเก็ง" (ผู้สำเร็จราชการแทนโชกุน) โดยใน 135 ปีของยุคนี้มีโชกุนทั้งหมด 9 คนพร้อมด้วย 16 ผู้สำเร็จราชการ
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== สถาปนารัฐบาล ===
ก่อนการสถาปนารัฐบาลโชกุนคะมะกุระ อำนาจทั้งปวงจะรวมอยู่ที่ราชสำนักขององค์จักรพรรดิเป็นหลัก บุคคลต่างๆที่ได้รับการแต่งตั้งจะเป็นขุนนางและพรรคพวกที่มีความสัมพันธ์กับราชสำนัก และกิจการทหารก็อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของรัฐบาลพลเรือน อย่างไรก็ตามหลังจากที่มีชัยชนะเหนือตระกูลไทระ ในซึกเก็งเปะอิ [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ|มินะโมะโตะแห่งโยะริโตะโมะ]] ก็ได้เข้ายึดอำนาจจากชนชั้นสูงในปี ค.ศ. 1185 และได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็น[[โชกุน]]ในปี 1192 พร้อมๆกับการประกาศสถาปนารัฐบาลโชกุนขึ้นปกครองญี่ปุ่น
 
=== การเถลิงอำนาจของตระกูลโฮโจ ===
ภายหลังการอสัญกรรมของโชกุนโยะริโตะโมะ [[โฮโจ โทะกิมะซะ]] ประมุขแห่งตระกูลโฮโจ (ตระกูลของภริยาโชกุน), [[โฮโจ มะซะโกะ]] และเหล่าบริวารในอดีตของโยะริโตะโมะ ได้อ้างอำนาจการบริหารราชการแผ่นดินในนามของ "ผู้สำเร็จราชการแทนโชกุน" ([[ชิกเก็ง]]) จาก[[มิตะโมะโตะ โนะ โยะรีเอะ|มินะโมะโตะแห่งโยะรีเอะ]] บุตรชายของโชกุนโยะริโตะโมะ ในคนในจระกูลโฮโจก็ดำรงตำแหน่งชิกเก็งนี้แบบสืบสายเลือดต่อมา ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ถือครองอำนาจอย่างแท้จริง โชกุนเพียงแต่ให้คำปรึกษาในบางครั้งคราวและเป็นประมุขของรัฐบาลเท่านั้น
 
=== การรุกรานจากมองโกล ===
{{บทความหลัก|การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล}}
 
[[จักรวรรดิมองโกล]] ภายใต้การนำของ[[กุบไล ข่าน]] ซึ่งกำลังแผ่ขยายอาณาเขตไปอย่างกว้างขวางยากที่ชาติไดในขณะนั้นจะต้านทานได้ ต้องการมีอำนาจเหนือญี่ปุ่น จึงส่งคณะทูตมาถึงสองครั้งเพื่อต้องการให้ญี่ปุ่นแสดงความจงรักภักดีต่อจักรพรรดิมองโกล แต่ก็ได้รับการปฏิเสธจากโทะกิมะซะ ทำให้มองโกลตัดสินใจบุกญี่ปุ่นสองครั้งในปี ค.ศ. 1274 และ 1281 ซึ่งมองโกลพ่ายแพ้ทั้งสองครั้งจากการที่ประสบกับพายุไต้ฝุ่น จากการที่มองโกลสูญเสียไพร่พลและทรัพยากรไปอย่างมหาศาลในศึกครานี้ สร้างความไม่พอใจให้กับกับประชาชน กองทัพและราชสำนักหยวน เป็นผลให้จักรวรรดิมองโกลเริ่มเสื่อมถอยจนล่มสลายในปี ค.ศ. 1368
 
== อ้างอิง ==