ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
N.M. (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เว็บย่อ |nmk}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
บรรทัด 14:
| สี = [[สีน้ำเงิน|{{แถบสีสามกล่อง|#0000FF}} น้ำเงิน]]<br />[[สีเหลือง|{{แถบสีสามกล่อง|#FFFF00}} เหลือง]]
| ที่ตั้ง = {{flagicon|Thailand}}<br>115 หมู่ 11 ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) [[ถนนนวมินทร์]]<br>[[แขวงนวลจันทร์]] [[เขตบึงกุ่ม]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| เว็บไซต์ = [http://www.nmk.ac.th nmk.ac.th]
}}
'''โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร''' เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 115 หมู่ 11 ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) [[ถนนนวมินทร์]] แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัด[[สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา]] กรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ก่อตั้งวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2528]] โดยกระทรวงศึกษาธิการ มี นายกนก จันทร์ขจร เป็นผู้อำนวยการท่านแรก
 
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 115 หมู่ 11 ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ถนนนวมินทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2528 โดยกระทรวงศึกษาธิการ มี นายกนก จันทร์ขจร เป็นผู้อำนวยการท่านแรก
 
 
== ประวัติ ==
 
 
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 5 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยมีนายประสงค์ อ้นสุวรรณ ผู้สนใจในการศึกษาได้ติดต่อและประสานงาน เรื่องการบริจาคที่ดินจากคหบดีและคหปตานี ซึ่งเป็นเครือญาติจำนวน 6 ราย ดังนี้คือ
 
1.# นางเสริม น้อยสิริ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/035/30.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง อนุโมทนาการบริจาคทรัพย์สินให้แก่โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร], เล่ม ๑๑๔, ตอน ๓๕ ง, ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๓๐ </ref>
2.# นายมุข ทับเจริญ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/032/16.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง อนุโมทนาการบริจาคทรัพย์สินให้แก่โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร], เล่ม ๑๑๔, ตอน ๓๒ ง, ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑๖ </ref>
 
3.# นายริด สุวรรณน้อย
2.นายมุข ทับเจริญ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/032/16.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง อนุโมทนาการบริจาคทรัพย์สินให้แก่โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร], เล่ม ๑๑๔, ตอน ๓๒ ง, ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑๖ </ref>
4.# นางสาวศรีอำพร อ้นสุวรรณ
 
5.# นางสาวสายสุดา อ้นสุวรรณ
3.นายริด สุวรรณน้อย
6.# นายสุนันท์ อ้นสุวรรณ
 
4.นางสาวศรีอำพร อ้นสุวรรณ
 
5.นางสาวสายสุดา อ้นสุวรรณ
 
6.นายสุนันท์ อ้นสุวรรณ
 
ร่วมกันบริจาคที่ดินจำนวน 17 ไร่ 24 ตารางวา
 
 
ประกาศตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2528 ใช้ชื่อว่าโรงเรียนนวมราชูทิศ กรุงเทพมหานคร มีนายกนก จันทร์ขจร ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนมักกะสันพิทยา]] รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ เปิดทำการสอนนักเรียนรุ่นแรกจำนวน 307 คน ในปีการศึกษา 2528 โดยอาศัยอาคารเรียนของ[[โรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์]]และมีอาจารย์จากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จำนวน 6 ท่านดำเนินการจัดการเรียนการสอน
 
ต่อมากระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เพื่อความสมบูรณ์และความไพเราะในเชิงอักษรศาสตร์ จึงได้ประกาศ ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2528
 
 
 
วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2528 โรงเรียนได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนทรงไทย 3 ชั้น หลังแรก โดย [[พณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์]] เป็นประธานในพิธี อาคารหลังนี้ไดรับความอนุเคราะห์จากพระราชปัญญาโกศล เป็นประธาน อุปถัมภ์[[มูลนิธินวมราชานุสรณ์]] และองค์อุปถัมภ์ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร (ในขณะนั้น) เป็นจำนวนเงิน 12 ล้านบาท โรงเรียนจึงได้ ตั้งชื่ออาคารหลังนี้ว่า อาคารพระราชปัญญาโกศล
ต่อมาในปีการศึกษา 2529 จึงได้ย้ายมาเรียนในอาคารชั่วคราวที่ชุมชนได้ร่วมใจกันสร้าง เป็นสถานที่เรียนบนที่ดินของโรงเรียน โดยสามารถ ใช้ประโยชน์จากอาคารพระราชปัญญาโกศลบางส่วนเป็นห้องเรียน และสำนักงาน
 
 
 
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานครและโรงเรียนอีก 4 โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ ๕ ภูมิภาค ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อันเชิญพระมหาพิชัยมงกุฎครอบอุณาโลม รองรับด้วยโมลี ๒ ชั้น มีชื่อแต่ละโรงเรียนอยู่ภายใน เป็นตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน และเข็มตราสัญลักษณ์ประดับอกเสื้อนักเรียน เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
เส้น 111 ⟶ 97:
[[หมวดหมู่:กลุ่มโรงเรียนนวมินทราชูทิศ|กรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
{{โครงสถานศึกษา}}