ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคคามากูระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: eu:Kamakura Aroa
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "คิวชู" → "คีวชู" +แทนที่ "คามากุระ" → "คะมะกุระ" +แทนที่ "เฮอัน" → "เฮอัง" +แทนที่ "โกไดโกะ" →...
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
{{ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น|Kamakura Budda Daibutsu front 1885.jpg|200px|หลวงพ่อโตคะมะกุระ หรือ [[คะมะกุระไดบุซึ]]ในเมืองคามาคะมะกุระ}}
 
'''ยุคคะมะกุระ''' ({{ญี่ปุ่น|鎌倉時代|Kamakura-jidai}}) หรือ อ่านแบบไทย '''คามาคูคะมะกุระ''' ตรงกับปี[[ค.ศ. 1185]]-[[ค.ศ. 1333]] เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร โยริโตโมะแห่งตระกูลมินาโมโต้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคามา[[คะมะกุระ]] ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอันอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของกุบไลข่านในสมัยราชวงศ์หยวนซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี ค.ศ. 1274 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 1281 แต่กองทัพมองโกลเข้าโจมตีญี่ปุ่นไม่สำเร็จเพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยกองทัพมองโกลได้รุกรานสู่ญี่ปุ่นโดยเข้าโจมตีภาคเหนือของเกาะคิวชู[[คีวชู]] กองทัพทหารได้ทำการต่อสู้ป้องกันอย่างเข้มแข็ง ประกอบกับภัยธรรมชาติเป็นส่วนช่วยเหลือ ญี่ปุ่นจึงรอดพ้นจากอันตรายมาได้ แต่นั่นก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเสื่อมอำนาจในการควบคุมชนชั้นนักรบของรัฐบาลทหารสงครามครั้งนี้ได้สร้างความอ่อนแอให้กับรัฐบาลทหารคะมะกุระอย่างมากส่วนความเจริญทางด้านวัฒนธรรมนั้น

วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบได้ก่อกำเนิดขึ้นโดยมีวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองเป็นรากฐาน แต่ยังคงเอกลักษณ์ของชนชั้นนักรบไว้ อันได้แก่ ความมีพลวัตร และการสะท้อน ความเป็นจริงอย่างเรียบง่าย ในด้านศาสนา พุทธศาสนาแบบคะมะคุระก็ได้กำเนิดขึ้นโดยพระเถระผู้มีชื่อเสียง อย่าง โฮเน็น (Hounen) ชินรัน (Shinran) และนิฉิเรน (Nichiren) เป็นต้น นักรบฝั่งที่ราบคันโตจะนับถือศาสนาเซนอันได้รับการถ่ายทอดจากจีนแผ่นดินซ้องในศตวรรษที่ 12 เป็นหลัก รูปแบบศิลปะใหม่ ๆ ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ อย่างเช่น ปฏิมากรรมสมัยคะมะคุระตอนต้นนั้น จะมีลายเส้นที่หนักแน่นมีพลังเหมือนของจริง และแสดงออกถึงความเป็นมนุษย์ วรรณศิลป์ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่ชนชั้นนักรบนิยม เช่น “เฮเคะ โมะโนะงะตะริ (Heike Monogatari) ” ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อต้นศตวรรษที่ 13 เป็นผลงานที่ดีที่สุดในจำนวนนิยายเกี่ยวกับการสู้รบ และก็ยังมีหนังสือรวบรวมบทเรียงความเรื่อง “โฮโจขิโจกิ (Houjouki) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 13 และ “ทสึเระซุเระงุสะสึเระซุเระงุซะ (Tsurezuregusa) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 14
 
== ประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:AntokuTennou Engi.7&8 Dannoura Kassen.jpg|thumb|200px|left|ยุทธนาวีทังโนะอุระ]]
สมัยคะมะคุระเป็นสมัยแรกที่นักรบหรือซะมุไร (侍, samurai) ขึ้นมากลายเป็นชนชั้นปกครองแทนที่พระจักรพรรดิและนักปราชญ์ที่เป็นพลเรือนดังที่เคยเป็นมาใน[[ยุคเฮอันอัง]] เป็นจุดเริ่มต้นของญี่ปุ่นสมัยศักดินา ในช่วงปลายสมัยเฮอันอังราชสำนักที่[[เกียวโต]]เกิดความขัดแย้งระหว่างตระกูลไทระ (平, Taira) และ[[ตระกูลมินะโมะโตะ]] (源, Minamoto) จนนำไปสงครามเง็นเป (源平合戦, Genpei kassen) ฝ่ายตระกูลมินะโมะโตะนำโดย[[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ|มินะโมะโตะแห่งโยะริโตะโมะ]] (源 頼朝, Minamoto no Yoritomo) ได้รับชัยชนะในยุทธนาวีทังโนะอุระ (Dan-no-ura, 壇ノ浦) เมื่อค.ศ. 1185 ทำให้มินะโมะโตะ โยะริโตะโมะมีอำนาจเสมอเหมือนเป็นเจ้าผู้ปกครองญี่ปุ่นแทนที่พระจักรพรรดิ สงครามทำให้ชนชั้นนักรบได้เข้าครอบครองที่ดินต่างๆซึ่งแต่ก่อนเป็นของราชสำนักเกียวโต โดยนักรบที่เป็นนายจะแบ่งที่ดินให้แก่ข้ารับใช้ของตนตามระบอบศักดินา ในค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะได้รับแต่งตั้งจากพระจักรพรรดิโก-โทบะ (後鳥羽, Go-Toba) เป็น''เซอิไทโชกุน'' (征夷大将, Seii Taishōgun) และโยะริโตะโมะจัดตั้งฐานอำนาจของตนที่เมือง[[คะมะกุระ]] (鎌倉, Kamakura) ซึ่งเป็นเมืองขนาดเล็กไม่มีความหรูหราเช่นเกียวโตทำให้ศูนย์การปกครองที่คะมะคุระถูกเรียกว่า รัฐบาลเต็นต์ หรือ ''บะกุฟุ'' (幕府, bakufu) โดยมินะโมะโตะมีอำนาจโดยตรงในแถบคันโต ในขณะที่ทางตะวันออกอันห่างไกลหรือแคว้นโทโฮคุนั้นเป็นของ[[ตระกูลฟุจิวาระ]] และดินแดนทางตะวันตกส่วนใหญ่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของราชสำนักเกียวโต
 
เมื่อโยะริโมะโตะเสียชีวิตในค.ศ. 1199 มินะโมะโตะ โยะริอิเอะ (源 頼家, Monamoto no Yoriie) บุตรชายของโยะริโตะโมะอายุเพียงสิบเจ็ดปีได้เป็นโชกุนคนต่อมา อำนาจการปกครองจึงตกอยู่แก่ตระกูลโฮโจ (北条, Hōjō) ซึ่งเป็นตระกูลของโฮโจ มะซะโกะ (北条 政子, Hōjō Masako) ภรรยาของโยะริโตะโมะและมารดาของโยะริอิเอะ โดยบิดาของมะซะโกะและปู่ของโยะริอิเอะ คือ โฮโจ โทะกิมะซะ (北条 時政, Hōjō Tokimasa) ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการโชกุนหรือ''ชิกเก็น'' (執権, Shikken) คนแรก นับแต่นั้นมาโชกุนคะมะกุระจึงกลายเป็นหุ่นเชิดของผู้สำเร็จราชการแทนตระกูลโฮโจ แต่ทว่าตระกูลฮิกิ (比企, Hiki) ซึ่งเป็นตระกูลของภรรยาของโยะริอิเอะ ได้พยายามจะสร้างอำนาจและก่อการกบฎต่อตระกูลโฮโจขึ้นในค.ศ. 1203 ตระกูลโฮโจได้เข้าทำการกวาดล้างตระกูลฮิกิอย่างรุนแรงและโหดเหี้ยม โทะกิมะซะจึงปลดโชกุนโยะริอิเอะออกจากตำแหน่ง (และถูกลอบสังหารในปีต่อมา) และตั้งน้องชายของโยะริอิเอะคือ มินะโมะโตะ ซะเนะโตะโมะ (源 実朝, Minamoto no Sanetomo) เป็นโชกุนคนต่อมา แต่แล้วกลับเกิดข่าวลือว่า''ชิกเก็น'' โทะกิมาซะวางแผนจะปลดโชกุนซะเนะโมะโตะออก ทำให้มะซะโกะบุตรสาวและโยะชิโตะกิ (北条 義時, Hōjō Yoshitoki) บุตรชายผู้สืบทอดตำแหน่งของตนไม่พอใจ จึงเข้าทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากบิดาของตนในค.ศ. 1205 บังคับให้โทะกิมะซะปลงผมบวชเป็นพระภิกษุ โยะชิโตะกิจึงได้เป็น''ชิกเก็น''ต่อจากบิดา แต่โชกุนซะเนะโตะโมะกลับถูกลอบสังหารในค.ศ. 1219 ทำให้ตระกูลมินะโมะโตะสาขาเซวะ หรือ เซวะเง็นจิ (清和源氏, Seiwa Genji) ที่ดำรงตำแหน่งโชกุนอยู่ต้องสูญสิ้นไป ''ชิกเก็น''โยะชิโตะกิจึงมอบตำแหน่งโชกุนให้แก่[[ตระกูลคุโจ|คุโจ]] โยะริซึเนะ (九条 頼経, Kujō Yoritsune) อายุเพียงหนึ่งขวบที่มีเชื้อสายฟุจิวะระ
 
กล่าวถึงราชสำนักเกียวโตอยู่ภายใต้อิทธิพลของ''บะกุฟุ''คะมะกุระ ความอ่อนแอลงของ[[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ]]เป็นโอกาสให้ราชสำนักเกียวโตทวงอำนาจคืน ในค.ศ. 1221 พระจักรพรรดิโก-โทบะทรงแต่งตั้งพระนัดดาขึ้นเป็นพระจักรพรรดิชูเกียว (仲恭, Chūkyō) โดยไม่รับความเห็นชอบจาก''บะกุฟุ'' และมีพระราชโองการประกาศให้''ชิกเก็น''โยะชิโตะกิเป็นอาชญากรมีความผิด นำไปสู่สงครามโจเคียว (承久の乱, jōkyū no ran) โยะชิโตะกิยกทัพ''บะกุฟุ''เข้าบุกยึดเมืองเกียวโตเคียวโตะ พระจักรพรรดิโก-โทบะโกะโทะบะรวมทั้งพระโอรสและพระนัดดาต่างทรงถูกเนรเทศ นับแต่นั้นมาราชสำนักเกียวโตก็ตกอยู่ภายใต้อำนาจของ''บะกุฟุ''อย่างแท้จริง
 
== เหตุการณ์ที่สำคัญ ==
 
- ค.ศ. 1192 โยริโตโมะ มินาโมโตะนะโมะโตะ ได้รับตำแหน่งโชกุน เป็นจุดเริ่มของการก่อตั้งรัฐบาลคามาคุระบาคะมะกุฟุระ บะกุฟุ
 
- ค.ศ. 1203 ซาเนโตโมะ มินาโมโตะนะโมะโตะ ขึ้นเป็นโชกุนรุ่นที่สาม โดยมี โทกิมาสะ โฮโจ เป็นผู้สำเร็จราชการโชกุนคนแรกของคามาคุคะมะกุระ และได้สร้างอำนาจบารมีให้กับตระกูลโฮโจ
 
- ค.ศ. 1219 โชกุนซาเนโตโมะ ถูกลอบสังหาร ตระกูลโฮโจก็ได้เข้ามามีอำนาจในรัฐบาลโชกุน
 
- ค.ศ. 1221 เกิดจลาจลโจคิว เมื่อพระเจ้าสมเด็จพระจักรพรรดิโกโตบะ อดีตจักรพรรดิ ที่ต้องการทำให้ราชสำนักกลับมามีอำนาจเช่นในอดีต ได้ประกาศว่าผู้แทนโชกุนโยชิโตกิ โฮโจ เป็นกบฎ เรียกร้องให้ประชาชนทั่วประเทศลุกขึ้นต่อต้าน โยชิโตกิ จึงได้ส่งกองทัพใหญ่จากคามาคุคะมะกุระไปปราบทัพของพระเจ้าโกโตเบะจักรพรรดิโกะโทะเบะ และเข้ายึดเมืองเกียวโตเคียวโตะ
 
- ค.ศ. 1232 ยาสุโตกิ โฮโจ ยะซุโตะกิ ได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายโจเอ กฎหมายฉบับนี้ได้สะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงจากสังคมที่มีราชสำนักเป็นศูนย์กลางมาเป็นสังคมที่มีทหารเป็นหลัก และเป็นกฎหมายที่ร่างขึ้นเพื่อชนชั้นนักรบโดยเฉพาะ
 
- ค.ศ. 1252 พระพุทธรูปไดบุทสึแห่งคามาคุคะมะกุระ (องค์สัมฤทธิ์) ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์
 
- ค.ศ. 1268 มีการอัญเชิญพระราชสาส์นจากจักรพรรดิกุบไลข่าน แห่งราชวงศ์หยวน (มองโกเลีย) มายังญี่ปุ่น แจ้งช้อเรียกร้องให้ญี่ปุ่นส่งบรรณาการให้แก่จีน มิฉะนั้นจะถูกลงโทษอย่างรุนแรง
 
- ค.ศ. 1274 กองทหารโคไรแห่งราชวงศ์หยวน ยกทัพมาตีทางตอนเหนือของคิวชูคีวชู นักรบคิวชูคีวชูสามารถต่อต้านการบุกได้อย่างหวุดหวิด พอดีกับเกิดพายุใหญ่ที่เรียกว่า “คามิคาเซะ” (ลมศักดิ์สิทธิ์) ซึ่งได้ทำลายกองทัพเรือของพวกมองโกล จึงได้ถอยทัพกลับไป และต่อมาในปี 1281 มองโกลได้ยกทัพมาอีกครั้ง หวังจะปราบญี่ปุ่นให้ราบคาบ แต่ก็ได้เกิดพายุใหญ่อีกครั้ง ทำให้แผนการบุกญี่ปุ่นต้องล้มเหลว
 
- ค.ศ. 1324 แผนการล้มล้างรัฐบาลโชกุนของจักรพรรดิโกไดโกะรั่วไหล ทำให้เกิดความรำส่ำระสาย
 
- ค.ศ. 1331 หัวหน้ากลุ่มกองโจรที่จงรักภัคดีต่อราชบัลลังก์ คุสึโนกิ มาซาชิเกะ ส่งทหารไปล้มล้างรัฐบาลโชกุนที่อากาสาเกะ เขตคาวาจิ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ
 
- ค.ศ. 1333 รัฐบาลโชกุน ส่งแม่ทัพจากเขตตะวันออก ทากาอุจิ อาชิกางะ ไปปราบกลุ่มของจักรพรรดิโกไดโกะ ในเขตตะวันตก แต่ ทากาอุจิ กลับตัดสินใจประกาศสนับสนุนพระเจ้าโกไดโกะ และยกทัพเข้ามาตีรัฐบาลโชกุนที่เกียวโต ขณะที่ ผู้นำทางเขตตะวันออกอีกคนหนึ่ง โยชิซาดะ นิตตะ ก็ได้แข็งข้อยกกำลังเข้ามาทำลายที่ทำการของตระกูลโฮโจ ที่คามาคุระ เป็นผลให้รัฐบาลคามาคุระก็ถึงกาลล่มสลาย
 
- ค.ศ. 1324 แผนการล้มล้างรัฐบาลโชกุนของจักรพรรดิโกไดโกะรั่วไหลไดโงะรั่วไหล ทำให้เกิดความรำส่ำระสาย
 
- ค.ศ. 1331 หัวหน้ากลุ่มกองโจรที่จงรักภัคดีต่อราชบัลลังก์ คุสึโนกิ มาซามะซะชิเกะ ส่งทหารไปล้มล้างรัฐบาลโชกุนที่อากาสาเกะ เขตคาวาจิคะวะชิ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ
 
- ค.ศ. 1333 รัฐบาลโชกุน ส่งแม่ทัพจากเขตตะวันออก ทากาทะกะอุจิชิ อาชิกางะ ไปปราบกลุ่มของจักรพรรดิโกไดโกะไดโงะ ในเขตตะวันตก แต่ ทากาทะกะอุจิชิ กลับตัดสินใจประกาศสนับสนุนพระเจ้าโกไดโกะไดโงะ และยกทัพเข้ามาตีรัฐบาลโชกุนที่เกียวโต ขณะที่ ผู้นำทางเขตตะวันออกอีกคนหนึ่ง โยชิซาดะ นิตตะ ก็ได้แข็งข้อยกกำลังเข้ามาทำลายที่ทำการของตระกูลโฮโจ ที่คามาคุคะมะกุระ เป็นผลให้[[รัฐบาลคามาคุโชกุนคะมะกุระก็ถึงกาลล่มสลาย
 
== อ้างอิง ==