ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลากดทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: zh:海鯰科
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
*''[[Aspistor]]''
*''[[Bagre]]''
*''[[ปลากดหัวกบ|Batrachocephalus]]''
*''[[Brustiarius]]''
*''[[Carlarius]]''
บรรทัด 51:
โดยการแพร่พันธุ์ ตัวผู้จะอมไข่ไว้ในปาก รอจนกว่าไข่จะฟักเป็นตัว โดยหลังจากการผสมพันธุ์ภายนอกแล้วตัวเมียจะใช้ครีบก้นที่มีขนาดใหญ่และหนากว่าตัวผู้อุ้มไข่ไว้แล้วให้ตัวผู้มารับไป ไข่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 0.5-1 [[เซนติเมตร]] แล้วแต่[[สปีชีส์|ชนิด]]
 
กระจายพันธุ์ทั่วเขตร้อนของโลก พบใน[[ประเทศไทย]]ประมาณ 20 ชนิด เช่น [[Arius thalassinus|ปลาริวกิว]] หรือปลาลู่ทู (''Arius thalassinus'') และพบในน้ำจืดราว 10 ชนิด เช่น [[Ketengus typus|ปลากดหัวโต]] (''Ketengus typus''), [[ปลาอุก]] (''Cephalocassis borneensis''), [[ปลาอุกจุดดำ]] (''Arius maculatus''), [[Batrachocephalus minoปลากดหัวกบ|ปลาอุกหัวกบ]] (''Batrachocephalus mino'') และ [[ปลากดหัวผาน]] (''Hemiarius verrucosus'') เป็นต้น
 
โดยมากปลาในวงศ์นี้ จะถูกเรียกรวมกันว่า "อุก" เนื่องจากเมื่อถูกจับพ้นน้ำได้แล้วจะส่งเสียงร้องได้ โดยส่งเสียงว่า "อุก อุก"<ref>[[ชวลิต วิทยานนท์]] ดร., ''ปลาน้ำจืดไทย'' ([[กรุงเทพ]], [[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-475-655-5 </ref>