ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: sn:Ketamhuka
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: te:జంతుశాస్త్రం; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 3:
สัตววิทยาศึกษาโดยรวมเกี่ยวกับร่างกายของ[[สัตว์]] ไม่ได้เน้นส่วนใดส่วนหนึ่ง และกระบวนการสำคัญในการดำรงชีพ แต่ศึกษาความสัมพันธ์ของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์กับ[[สภาพแวดล้อม]] เนื่องจากเป็นขอบเขตการศึกษาที่กว้าง จึงมักจะแบ่งย่อยเป็นสาขาอื่นๆ อีก เช่น [[วิทยาเซลล์]], [[วิทยาตัวอ่อน]], [[สัณฐานวิทยา]], [[โบราณชีววิทยา]], [[พันธุศาสตร์]]และวิวัฒนาการ, [[อนุกรมวิธาน]], [[พฤติกรรมวิทยา]], [[นิเวศวิทยา]] และ[[สัตวภูมิศาสตร์]] เป็นต้น
 
สัตววิทยานั้นมีการศึกษามาตั้งแต่สมัย[[กรีกโบราณ]] และ[[จักรวรรดิโรมัน]] จากงานของ[[ฮิปโปเครเตส]], [[อะริสโตเติล]], และ[[พลินี]] นักธรรมชาตินิยมสมัยต่อมาเจริญรอยตามอริสโตเติล จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อมีการพิมพ์แพร่หลาย ความรู้เหล่านี้ก็กว้างขวางขึ้น มีการศึกษาและเผยแพร่มากขึ้น เช่น [[วิลเลียม ฮาร์วีย์]] (การไหลเวียนของเลือด) , [[ลินเนียส|คาโรลุส ลินเลียส]] (ระบบการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์) , [[จอจส์ หลุย เลอเคลิก เดอ บุฟอง]] (ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ) , และ[[Georges Cuvier|จอร์จส์ คูเวียร์]] (กายวิภาคเปรียบเทียบ) ซึ่งเป็นการศึกษาในขั้นลึกของสัตววิทยา<ref>Mehmet Bayrakdar, "Al-Jahiz And the Rise of Biological Evolutionism", The Islamic Quarterly, Third Quarter, 1983, London. </ref><ref>Paul S. Agutter & Denys N. Wheatley (2008). ''Thinking about Life: The History and Philosophy of Biology and Other'' Sciences. Springer. p. 43. ISBN 14020886551-4020-8865-5 </ref><ref>Albertus Magnus. On Animals: A Medieval Summa Zoologica. The Review of Metaphysics | December 01, 2001 | Tkacz, Michael W. </ref>
 
จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของการศึกษาสัตววิทยา ก็เมื่อ[[ชาลส์ ดาร์วิน]] ได้ตีพิมพ์หนังสือ ''กำเนิดพงศ์พันธุ์'' (On the Origin of Species by Means of Natural Selection) ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นับแต่นั้นการศึกษาด้านพันธุศาสตร์เริ่มมีความจำเป็นในการศึกษาทางชีววิทยา และการศึกษาในแนวลึกเฉพาะด้านเริ่มมีมากขึ้น และยังมีการศึกษาคาบเกี่ยวกันในแต่ละสาขาวิชาด้วย<ref>Appendix: Frequently Asked Questions" (php). Science and Creationism: a view from the National Academy of Sciences (Second ed.). Washington, DC: The National Academy of Sciences. 1999. p. 28. ISBN -0-309-06406-6. http://www.nap.edu/openbook.php?record_id=6024&page=27#p200064869970027001. Retrieved September 24, 2009</ref>
 
สำหรับสถาบันที่เปิดสอนศาสตร์ด้านสัตววิทยานั้น ใน[[ประเทศไทย]] ตามหลักสูตรของ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ต้องผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาใน[[สถาบันอุดมศึกษา]] ที่มีหลักสูตร สาขาวิชาสัตววิทยา และสาขาวิชาชีววิทยา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เช่น [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]], [[คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]], [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้วุฒิปริญญาตรี เป็นต้น และเมื่อศึกษาจบแล้ว สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานภาครัฐ [[รัฐวิสาหกิจ]] หรือเอกชนได้ต่าง ๆ หลากหลาย <ref>[http://www.unigang.com/Article/98 นักสัตววิทยา อาชีพสำหรับคนรักสัตว์ {{th}}]</ref>
บรรทัด 19:
*[[สังขวิทยา]]
 
== ดูเพิ่ม ==
*[[พฤกษศาสตร์]]
*[[Cryptozoology|สัตว์ลึกลับวิทยา]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.ezathai.org/history02.html สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย {{th}}]
 
{{ชีววิทยา}}
 
 
[[หมวดหมู่:สัตววิทยา| ]]
เส้น 126 ⟶ 125:
[[sv:Zoologi]]
[[ta:விலங்கியல்]]
[[te:జంతుశాస్త్రం]]
[[tet:Zoolojia]]
[[tg:Ҷонваршиносӣ]]