ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนวัดราชโอรส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพล (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงค์เสียออก ตัดข้อมูลไม่จำเป็นออก
พุทธพล (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูล
บรรทัด 23:
 
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
* '''ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน''' เลข 3 เหนืออักษร ร.อ. ภายใต้[[พระมหาพิชัยมงกุฏ]]
* '''คติพจน์''' ''อตตนา โจทยตตนํ'' แปลว่า จงเตือนตนด้วยตนเอง
* '''คำขวัญ''' ทำตัวน่ารัก ใจภักดิ์โรงเรียน หมั่นเพียรศึกษา ใฝ่หาความรู้ อยู่ด้วยวินัย
* '''สีประจำโรงเรียน''' ฟ้า - เหลือง โดยทั้งสองสีหมายถึงผู้มีคุณธรรมอันสูงส่ง
** {{แถบสีสามกล่อง|#00bfff}} [[สีฟ้า]]
** {{แถบสีสามกล่อง|#ffff00}} [[สีเหลือง]]
โดยทั้งสองสีหมายถึงผู้มีคุณธรรมอันสูงส่ง
* '''องค์อุปการะ''' พระธรรมกิตติวงศ์ เจ้าอาวาสวัดราชโอรส
* '''ดอกไม้ประจำโรงเรียน''' ดอกพิกุล ซึ่งเป็นที่มาของคำเรียกขานนักเรียนว่า " สุภาพบุรุษลูกราชา (อันหมายถึงรัชกาลที่ 3 เป็นที่เทิดทูนของนักเรียน)และ กุลสตรีศรีพิกุล"
 
==ประวัติโรงเรียน==
เส้น 39 ⟶ 36:
 
[[พ.ศ. 2474]] ได้ยุบเลิกชั้นเรียนประถมเหลือแต่มัธยมศึกษาและได้ย้ายนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปอยู่ โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ซึ่งตั้งขึ้นใหม่ปี 2485 จึงไม่มีนักเรียนหญิงที่โรงเรียนวัดราชโอรสอีกเลย
 
[[พ.ศ. 2527]] ทางโรงเรียนเปิดรับนักเรียนหญิงในระดับ ม.ปลาย อีกครั้งหนึ่งหลังจากที่ได้เป็นโรงเรียนชายล้วนมาถึง 42 ปี
 
[[พ.ศ. 2532]] โรงเรียนได้เปิดสอนแบบสหศึกษา โดยเริ่มรับในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
[[พ.ศ. 2548]] โรงเรียนได้เปิดสอนการเรียนการสอนส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษา Mini English Program (EIC)
[[พ.ศ. 2553]] โรงเรียนได้เปิดสอนการเรียนการสอนส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ (Gifted)<ref>คู่มือผู้ปกครอง ครู และนักเรียน ปีการศึกษา 2554 หน้า 9 -10</ref>
 
[[พ.ศ. 2553]] โรงเรียนได้เปิดสอนการเรียนการสอนส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ (Gifted)<ref>คู่มือผู้ปกครอง ครู และนักเรียน ปีการศึกษา 2554 หน้า 9 -10</ref>
 
== ประวัติสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในโรงเรียนวัดราชโอรส==
[[พ.ศ. 2472]] กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติเงินงบประมาณให้สร้างอาคารเรียนเรือนไม้ 2 ชั้นซึ่งเป็นบริเวณ อาคารธรรมุเทศาจารย์ ในปัจจุบัน
 
[[พ.ศ. 2508]] ได้สร้างอาคารตึก 4 ชั้น ชื่อว่าอาคารหลังนี้ว่าอาคาร “เทพญาณมุนี” ซึ่งขณะนั้นผู้อุปการะโรงเรียน ตั้งตามชื่อ ท่านเจ้าคุณพระเทพญาณมุนี
 
[[พ.ศ. 2519]] ต่อมาเจ้าคุณพระเทพญาณมุนี ได้พัฒนาบำรุงวัด บำรุงโรงเรียนไปพร้อมกัน ได้ช่วยเหลือโรงเรียนทำให้ได้งบประมาณสร้างอาคารเรียนใหม่เป็นอาคารตึก 5 ชั้น ทางโรงเรียนจึงตั้งชื่ออาคารหลังนี้ว่าอาคาร “ราชโมลี” ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าอาวาสท่านได้ทำนุบำรุงโรงเรียนและวัด
 
[[พ.ศ. 2526]] ทางโรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษาให้สร้างอาคารเรียน 4 ชั้น 30 ห้องเรียน จึงก่อสร้างอาคารหลังนี้ในปีที่ดินแปลงใหม่ แล้วเสร็จ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2527 และใช่ชื่อว่า อาคาร “ปัทมานุช” ตามนามสกุลผู้ขายและบริจาคที่ดิน และได้ทำพิธีเปิดอาคารหลังใหม่ในงานฉลองครบรอบ 70 ปี เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2528 โดย ฯพณฯ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายสมาน แสงมะลิ เป็นประธานพิธี
 
[[พ.ศ. 2533]] โรงเรียนได้รับอนุมัติให้ก่อสร้างอาคารหอประชุมธรรมกิตติวงศ์ และเสร็จในปีการศึกษา 2534
 
[[พ.ศ. 2536]] - [[พ.ศ. 2539]] โรงเรียนวัดราชโอรสขยายพื้นที่เดิม 21 ไร่เศษ มีพื้นที่เป็น 2 บริเวณ เชื่อมต่อกันด้วยสะพานลอย โดยความอนุเคราะห์ของสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนวัดราชโอรส
* บริเวณที่ 1 เนื้อที่ 13 ไร่ ประกอบด้วยอาคารเรียนถาวร 4 หลัง อาคารโรงฝึกงาน อาคารหอประชุมและโรงอาหารซึ่งอยู่ใต้อาคารปัทมานุช สนามหญ้า สระน้ำ พระพุทธรูปในปราสาทกลางน้ำ สนามวอลเล่ย์ สนามบาสเกตบอล ที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจ
* บริเวณที่ 2 เนื้อที่ 9 ไร่เศษ ประกอบด้วย สระน้ำ และอาคารประกอบ โดยศิษย์เก่ารุ่น 12 โดยการนำของ
 
นายวิวัฒน์ ฑีฆะคีรีกุล ร่วมกันสร้าง นอกจากนั้นยังมีสนามฟุตบอล สนามบาสเกตบอล สนามวอลเล่ย์บอล สนามเทนนิส บ้านพักภารโรง
[[พ.ศ. 2542]] โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนถาวร 4 ชั้น 16 ห้องเรียน ทดแทนอาคารไม้ที่ชำรุดทรุดโทรม ได้ชื่อว่า อาคารธรรมุเทศาจารย์ ก่อสร้างสมบูรณ์ใช้ได้ในปีการศึกษา 2542
 
[[พ.ศ. 2549]] มีการปรับปรุงหอประชุมโรงเรียนวัดราชโอรส (ห้อประชุม[[ธรรมกิตติวงศ์]] ) และปรับปรุงโรงอาหารชั้น1อาคารปัทมานุช
[[พ.ศ. 2554]] สร้างโครงหลังคากันแดดกันฝนบริเวรสนามหน้าอาหารเรียน 1
 
[[พ.ศ. 2542]] โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนถาวร 4 ชั้น 16 ห้องเรียน ทดแทนอาคารไม้ที่ชำรุดทรุดโทรม ได้ชื่อว่า อาคารธรรมุเทศาจารย์ ก่อสร้างสมบูรณ์ใช้ได้ในปีการศึกษา 2542
 
== บริเวณโรงเรียน ==
 
* สวนวิทย์ ได้อยู่หน้าโรงเรียน มีประวัตินักวิทยาศาสตร์ และ สูตรคณิตศาสตร์ต่างๆ
 
* โรงอาหารอยู่ใต้อาคารปัทมานุชหลังพระพุทธรูปประจำโรงเรียน
* มีลานมะขามเทศไว้พักผ่อนหย่อนใจซึ่งอยู่ทางด้านล่างของหอประชุมธรรมกิตติวงศ์
 
* มีลานมะขามเทศไว้พักผ่อนหย่อนใจซึ่งอยู่ทางด้านล่างของหอประชุมธรรมกิตติวงศ์
 
* หอประชุมราชโมลีอยู่ชั้น 1 เป็นห้องประชุมขนาดเล็กทางด้านเข้าหอประชุมมีประวัติทำเนียบผู้บริหาร โรงเรียน ตลอดจน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ต่างๆ
 
* ห้องพิพิธภัณฑ์ มหาเจษฎาบดินทร์
* หอประชุมธรรมกิตติวงศ์ หอประชุมขนาดใหญ่ สำหรับจัดงานใหญ่และห้องสมุด
 
* ห้องประชุมพิกุล ห้องประชุมขนาดเล็ก สำหรับอาจารย์ และผู้บริหาร
* หอประชุมธรรมกิตติวงศ์ หอประชุมขนาดใหญ่ สำหรับจัดงานใหญ่
 
* ห้องประชุมพิกุล ห้องประชุมขนาดเล็ก สำหรับอาจารย์ และผู้บริหาร
 
 
เส้น 87 ⟶ 72:
 
* ปี 2536 ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่น กรมสามัญศึกษา<br />
 
* ปี 2536-2540 เป็นโรงเรียนพี่เลี้ยงโรงเรียนวังไกลกังวลในพระบรมราชูปถัมภ์ด้านงานแนะแนว<br />
 
* ปี 2536-2541 ได้รับคัดเลือกให้เป็นศูนย์จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />
 
* ปี 2527-2537 ได้รับถ้วยรางวัลการแข่งขันยูโดชนะเลิศติดต่อกัน 11 ปี<br />
 
* ปี 2538 ได้รับรางวัลโรงเรียนสิ่งแวดล้อมดีเด่น เขตการศึกษาส่วนกลาง<br />
 
* ปี 2538 ได้รับรางวัลห้องสมุดดีเด่นกรมสามัญศึกษา<br />
 
* ปี 2540 ได้รับโล่รางวัล “ โรงเรียนที่มีนักเรียนประพฤติดี มีคุณธรรม บำเพ็ญประโยชน์มากที่สุด ” จากกระทรวงศึกษาธิการ<br />
 
* ปี 2542 ได้รับเกียรติบัตร “ โรงเรียนที่จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ สนับสนุนงานสารวัตรนักเรียน ” จากกรมพลศึกษา<br />
 
* ปี 2543- 2547 ได้รับโล่รางวัลธนาคารโรงเรียนดีเด่นและการปฏิบัติงานธนาคาร ดีเยี่ยมระดับประเทศ จากธนาคารออมสินติดต่อกัน 5 ปี<br />
 
* ปี 2544 โล่รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดคำขวัญ เนื่องใน วันต่อต้านยาเสพติด จากสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์<br />
 
* ปี 2544 โล่รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดสื่อต่อต้านยาเสพติด จากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด<br />
 
* ปี 2544 ได้รับเกียรติบัตรยกย่องต้านส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร จากสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง<br />
 
* ปี 2545 โล่รางวัล “ เป็นโรงเรียนซึ่งมีนักเรียนจำนวนมาก ได้รับการยกย่องว่าประพฤติดี และ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ” จากคณะกรรมการจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ<br />
 
* ปี 2545 ได้รับการยกย่องเป็น “ โรงเรียนยอดนิยม กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ”<br />
 
* ปี 2545 ได้รับรางวัลเกียรติยศ “ สถาบันการศึกษาปลอดยาเสพติดดีเด่น ภาครัฐบาลจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ”<br />
 
* ปี 2546 ศูนย์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิชาภาษาญี่ปุ่น กรมสามัญศึกษา<br />
 
* ปี 2547 ศูนย์พัฒนาวิชาการภาษาจีน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />
 
* ปี 2540-2548 ได้รับรางวัลชนะเลิศกีฬาแฮนด์บอล จากการแข่งขันกีฬา นักเรียน <br />
 
* นักศึกษาแห่งประเทศไทย 7 ปีซ้อน - การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ 3 สมัยซ้อน <br />
 
* การ แข่งขันกีฬาแฮนด์บอลกรมพลศึกษา 8 ปีซ้อน<br />
 
* ปี 2549 ได้รับพระราชทานรางวัลเกียรติคุณ สัญญา ธรรมศักดิ์ ประจำปีการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2548จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
* ปี 2553 ได้รับรางวัล เป็นสถานศึกษา 3 D ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
* ปี 2554 เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาแฮนด์บอล สพฐ.เกมส์ ระดับจังหวัด และ ระดับภูมิภาค<br>
<ref>คู่มือผู้ปกครอง ครู และนักเรียน ปีการศึกษา 2554 หน้า 12-13</ref>
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
* นายสุพัฒน์ จินาพันธ์ เจ้าของบริษัทรองเท้ายี่ห้อ “GoldCity”
* นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<ref>http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=soonyongsatio&id=151</ref>
* ศ.ดร.[[สมคิด เลิศไพฑูรย์]] อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
* รศ.ดร.สุธน เสถียรยานนท์ คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
และเจ้าของ สถาบันกวดวิชา เคมี Chem. Campus
 
เส้น 143 ⟶ 108:
* เรือโดยสารประจำทางสายวัดไทร – ปากคลองตลาด<br>
* ยานพาหนะส่วนตัว มาทางถนน เอกชัย ซ.4<br>
<ref>http://www.bmta.co.th/th/bus_info.php</ref>
 
== สถานที่ที่อยู่ใกล้เคียง ==