ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรากฏการณ์ไมสเนอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongkaew (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongkaew (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
''ปรากฎการณ์ไมสเนอร์ (Meissner effect)'' ปรากฎการณ์ที่น่าสนใจหนึ่งของตัวนำยวดยิ่งคือปรากฎการณ์ทางแม่เหล็ก ที่เรียก ว่า ปรากฎการณ์ไมสเนอร์ <ref>{{cite book |author=Buckel W. |year=1991 |title= Superconductivity Fundamentals and Applications. ||publisher=New York: VHC Pulisher }}</ref> โดยถ้านำก้อนของตัวนำยิ่งยวดในสถานะปกติไปวางใน สนามแม่เหล็กอ่อนๆ และให้อุณหภูมิ T >Tc จะไม่มีปรากฎการณ์พิเศษอะไรเกิดขึ้น แต่ถ้านำก้อน ของตัวนำยวดยิ่ง ในสถานะนำยวดยิ่งไปวางในสนามแม่เหล็กอ่อน ๆหรือให้อุณหภูมิ T < Tc ตัวนำ จะประพฤติตัวเป็นแม่เหล็ก Diamagnet ที่สมบูรณ์ จะทำให้มีสนามแม่เหล็กภายในตัวนำจะเท่ากับ ศูนย์ และเส้นแรงแม่เหล็กจะถูกผลักออกจากตัวนำ จากปรากฎการณ์นี้ถ้าทำการทดลองในแนวดิ่ง โดยวางตัวนำยวดยิ่งเหนือแม่เหล็ก หรือวางแม่เหล็กเหนือตัวนำยวดยิ่งก็ได้ เมื่ออุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤตเส้นแรงแม่เหล็กถูกผลัก ออกมาจากตัวนำยิ่งยวด ทำให้ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กที่รอบตัวนำยวดยิ่งไม่สม่ำเสมอ จึงเกิดแรงผลักขึ้นระหว่างตัวนำยวดยิ่งกับแม่เหล็ก และถ้าวัสดุตัวบนมีน้ำหนักไม่มากนักก็จะ สามารถถูกยกลอยขึ้นได้ เรียกว่า เกิดการยกตัวด้วยแม่เหล็ก(Magnetic levitation)[[File:Meissner effect p1390048.jpg|thumb|ปรากฎการณ์ไมสเนอร์]] == อ้างอิง == {{รายการอ้างอิงReflist}}
[[หมวดหมู่:สถานะของสสาร]] [[หมวดหมู่:สสารควาร์ก]] [[หมวดหมู่:สสารวิเทศ]] [[หมวดหมู่:การลอยตัว]] [[หมวดหมู่:สภาพตัวนำยิ่งยวด| ]] [[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]] [[en:Type-I superconductor]] [[es:Superconductor de tipo I]]