ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพบก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: an, ast, az, bar, be, br, he, hy, kk, ku, lt, ml, scn, sn แก้ไข: uk
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน
{{ต้องการอ้างอิง}}
ภารกิจและขีด สามารถของทหารม้า
{{ความหมายอื่น|กองทัพที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดิน|กองทัพของ[[ประเทศไทย]]|กองทัพบกไทย}}
บทบาทของทหารม้า สามารถกำหนดให้เห็นได้เด่นชัด ๒ ประการ คือ
'''กองทัพบก''' คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ
๑. ทำการรบเป็นปึกแผ่น ปฏิบัติการเป็นอิสระ บทบาทนี้จะปฏิบัติโดย
กองพลทหารม้า
กรมทหารม้า
กองพันทหารม้าลาดตระเวนของ กองพล
๒. ทำการรบร่วมกับทหารเหล่าอื่นบทบาทนี้จะปฏิบัติโดยหน่วยทหารม้าที่แบ่งมอบให้กับ
กองพลทหารราบ
ภารกิจของทหารม้า ภารกิจที่ควรมอบให้ทหารม้า คือ
- การเจาะลึกและโอบปีกกว้าง
- การขยายผลและการไล่ติดตาม
- การตั้งรับแบบคล่องตัว
- การทำลายรูปขบวนยานเกราะของข้าศึก
- การลาดตระเวนและการระวังป้องกัน
- การออมกำลัง
ภารกิจมูลฐานของทหารม้าที่เห็นเด่นชัด ๒ ประการ คือ
๑. การลาดตระเวน การระวังป้องกัน และการออมกำลัง
๒. การดำเนินกลยุทธหลัก
การรบร่วมกับทหารเหล่าอื่นขีดความสามารถของทหารม้า
1. ดำเนินกลยุทธ์ภายใต้การยิงการยิงที่มีเกาะป้องกันในสนามรบ
2. เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในพื้นที่หนึ่งและเข้าปะทะข้าศึกเพื่อตัดสินการรบ ณ ตำบล คับขัน
3. กระจายกำลัง และรวมกำลังอย่างรวดเร็ว
4. ทนต่อการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ได้ในระดับหนึ่ง
5. เข้าปะทะและผละจากการสู้รบกับข้าศึกได้อย่างรวดเร็ว โดยสูญเสียน้อยที่สุด
6.เข้าโจมตีอย่างหนักหน่วงต่อที่มั่นข้าศึก
ขีดจำกัดของทหารม้า
1. สิ้นเปลือง สป.ต่าง ๆมาก โดยเฉพาะ สป.3 และสป.5
2. มีความต้องการในการซ่อมบำรุงสูง
3. ยานรบส่วนมากมีน้ำหนักมากจึงมีปัญหาในการขนส่ง การเคลื่อนย้าย และการปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีความอ่อนนุ่ม หรือเป็นที่ลุ่มและพื้นที่ที่เป็นป่าเขา
การจัดหน่วยทหารม้า
การจัดหน่วยทหารม้าในปัจจุบัน แบ่งตามลักษณะการจัดได้ ดังนี้
- จัดเป็นหน่วยระดับกองพลเรียกว่า กองพลทหารม้า
- จัดเป็นหน่วยระดับกรม เรียกว่า กรมทหารม้า
- จัดเป็นหน่วยระดับกองพัน เรียกว่า กองพันทหารม้า
- จัดเป็นหน่วยระดับกองร้อยอิสระ เรียกว่า กองร้อยทหารม้าลาดตระเวน กองพลทหารราบ และกองร้อยทหารม้ารักษาพระองค์
 
คุณลักษณะของทหารม้า
* [[ทหารราบ]] ทำการรบด้วยอาวุธประจำกายในระยะประชิด
ทหารม้าต้องประกอบด้วยคุณลักษณะที่จำเป็นและสำคัญของเหล่าคือ
* [[ทหารม้า]] ทำการรบโดยใช้ม้าหรือยานยนต์ และ
1. ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ ( Mobility ) พาหนะที่ใช้ไม่ว่าจะเป็น ม้า ยานยนต์ ยานเกราะ หรืออากาศยาน
* [[ทหารปืนใหญ่]] มีหน้าที่สนับสนุนการรบของสองเหล่าแรกด้วยปืนใหญ่หรืออาวุธวิธีไกล
2. อำนาจการยิงรุนแรง ( Fire power ) ได้แก่ อาวุธประจำกายและอาวุธประจำยานพาหนะ หรือประหน่วยซึ่งมีหลายชนิด และหลายขนาด สามารถทำการยิงได้ตั้งแต่ระยะใกล้จนถึงระยะไกล
3. อำนาจการทำลายและข่มขวัญ ( Shock action ) เป็นผลที่ได้มาจากการปฏิบัติการอย่างรุนแรง ด้วยอาวุธที่มีอำนาจการทำลายสูง เช่น ปืนใหญ่และปืนกลประจำรถประกอบกับรูปร่าง ขนาด เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์ สายพาน และของอาวุธรวมทั้งมีเกราะกำบังที่ยากแก่การทำลายและความรวดเร็วในการเคลื่อนที่สูง สิ่งเหล่านี้นอกจากจะเกิดผลในทางทำลายแล้ว ยังได้ผลในการข่มขวัญของฝ่ายตรงข้าม คือก่อให้เกิดความตระหนกตกใจและชะงักงันให้แก่ข้าศึกได้เป็นอย่างดีด้วย ภายใต้คำขวัญ “รวดเร็ว รุนแรง เด็ดขาด”
ขีดจำกัดของทหารม้า
อย่างไรก็ตาม ขีดจำกัดของทหารม้าคือการรบในระยะประชิดตัว และการรบในป่าทึบ เนื่องจากข้อจำกัดด้านอาวุธที่ติดตั้ง โดนเฉพาะเมื่อถูกโจมตีจากด้านหลัง อีกทั้งวิศัยทัศน์การมองของพลประจำรถถังเองก็ถูกจำกัด สงครามเวียดนามเป็นเหตุการณ์ หนี่งที่ชี้ให้เห็นถึงข้อจำกัดนี้ได้อย่างชัดเจน โดยทหารราบเวียดกง (เวียดนามเหนือ) ทำการต่อกรกับทหารม้ารถถังอเมริกัน ด้วยการซุ่มอยู่ข้างทางในป่าทึบ แล้วใช้หลักการ คานดีดคานงัด เข้างัดรถถังอเมริกันให้พลิกคว่ำ
เพื่อเป็นการชดเชยข้อจำกัดของทหารม้า จึงมักจะทำการรบในลักษณะของกองกำลังผสมระหว่างทหารม้าและทหารราบ
ภารกิจของทหารม้า
ทหารม้าเป็นกำลังรบหลักส่วนหนึ่งของกองทัพบก ซึ่งสามารถมอบภารกิจให้ทำการรบโดยลำพังหรือผสมเหล่าได้เป็นอย่างดี ซึ่งภารกิจในการรบที่หน่วยทหารม้ารับผิดชอบได้แก่ ภารกิจดังต่อไปนี้
1. เป็นหน่วยในการลาดตระเวน การเข้าตี การระวังป้องกันและออมกำลังให้กับหน่วยใหญ่
2. เป็นหน่วยหลักในการดำเนินกลยุทธ์
ทหารม้าในประเทศไทย
พลเอกสยามมกุฎราชกุมาร (เจ้าฟ้าวชิราวุธฯ) เป็นจเรกองทัพบก เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2446 ได้จัดให้มีกิจการจเรทหารม้าอยู่ในการจัดกองทัพ ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของหน่วยทหารม้า เป็นยุคแรกของทหารม้าสมัยใหม่ ต่อมาเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศแก้ไขกิจการทหารม้าใหม่ เปลี่ยนเป็น “กระทรวงกลาโหม” มีกรมจเรกองทัพบกเป็นกรมหนึ่งในครั้งนี้และมีหน่วยขึ้นตรงของกรมนี้แบ่งเป็น 5 แผนก มีแผนกที่ 2 เป็นแผนกจเรทหารม้า ซึ่งมี พลตรีพระยาศักดาภิเดชวรฤทธิ์ ( อุ่น อินทรโยธิน ) เป็นผู้บัญชาการท่านแรก และต่อมามีคำสั่งกระทรวงกลาโหมเปลี่ยนชื่อหน่วยอีกหลายครั้ง คือ เปลี่ยนเป็น “กรมจเรทหารม้า” “กรมจเรทหารม้าและสัตว์พาหนะ” กรมจเรสัตว์พาหนะทหารบกและทหารม้า” เมื่อปี 2460 ซึ่งมี ผู้บังคับบัญชา และขอพระราชทานนามพระองค์เป็นชื่อค่าย “อดิศร” ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 ตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ 44/12291 ลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ให้เปลี่ยนชื่อจาก กรมการทหารม้า เป็น ศูนย์การทหารม้า ถือว่า วันที่ 4 มกราคม ของทุกปีเป็นวันสถาปนาศูนย์การทหารม้า
การแบ่งประเภทของทหารม้า
ศูนย์การทหารม้า ได้กำหนดหลักนิยมและรูปแบบการจัดหน่วยทหารม้าโดยแบ่งประเภทของทหารม้าไว้ดังนี้
1. ทหารม้าลาดตระเวน หมายถึง หน่วยทหารม้าที่จัดขึ้นเพื่อปฏิบัติภารกิจลาดตระเวน และระวังป้องกัน โดยเฉพาะไม่ว่าจะเป็น กองพันลาดตระเวน หรือกองร้อยลาดตระเวนทุกรูปแบบ จัดอยู่ในประเภททหารม้าลาดตระเวนทั้งสิ้น
2. ทหารม้ารถถัง หมายถึง หน่วยทหารม้าที่ดำเนินกลยุทธ์หลัก โดยมีรถถังเป็นยานรบไม่ว่าจะเป็นกองพันรถถังของกองพลทหารราบ หรือกองพันรถถังในอัตราของกรมทหารม้า จัดอยู่ในประเภททหารม้ารถถังทั้งสิ้น
3. ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ หมายถึง หน่วยทหารม้าที่ใช้ดำเนินกลยุทธ์หลัก โดยมียานยนต์สายพานหุ้มเกราะเป็นยานรบหลัก สามารถเคลื่อนที่และทำการรบบนยานรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับทหารม้ารถถังโดยตลอด จะลงรบบนดินเมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินกลยุทธ์ทางพื้นดิน เพื่อชดเชยจุดอ่อนของทหารม้ารถถังเท่านั้น
4. ทหารม้าขี่ม้า ปัจจุบันกองทัพบกสงวนไว้เพียง 1 กองพัน คือ “กองพันทหารม้าที่ 29 รักษาพระองค์” ที่สนามเป้า กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในภารกิจแห่นำตามเสด็จเป็นการเชิดชูเกียรติ วัฒนธรรมประเพณีของชาติ และเป็นการรักษาตำนาน
5. ทหารม้าอากาศ เป็นทหารม้าที่ใช้อากาศยาน ( เฮลิคอปเตอร์ ) เป็นยานรบหลัก เป็นหน่วยที่มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่สูงมาก ซึ่งจัดอยู่ในประเภททหารม้าลาดตระเวน เพื่อเอาชนะขีดจำกัดของภูมิประเทศทหารม้าประเภทนี้ มหาอำนาจบางประเทศ เช่น สหรัฐฯ มีการจัดและเคยใช้ปฏิบัติการได้ผลมาแล้วในสงครามเวียดนาม ปัจจุบัน ทบ. ได้อนุมัติหลักการในการจัดตั้งแล้ว 4 กองร้อย เป็นหน่วยขึ้นตรงกับกองทัพบก ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ พล.ม.2 รอ. คือ กองร้อยทหารม้าอากาศที่ 1
หน่วยทหารม้าในปัจจุบัน
หน่วยทหารม้า ที่เป็นกำลังรบในปัจจุบัน ทั้งที่จัดตั้งแล้วและยังอยู่ในการดำเนินการจัดตั้งมีอยู่ ๒ กองพล (และกำลังดำเนินการขึ้นอีก ๑ กองพล คือ กองพลทหารม้าที่ ๓ จังหวัดขอนแก่น) , 6 กรม, 31 กองพัน และ 5 กองร้อยอิสระ และอีก 1 กองร้อยทหารม้าอากาศ มีที่ตั้งอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ จังหวัดที่มีหน่วยทหารม้าอยู่ นอกจากกรุงเทพฯ แล้ว ได้แก่ สระบุรี, ปราจีนบุรี, นครราชสีมา, ขอนแก่น, เพชรบูรณ์, พิษณุโลก, น่าน, อุตรดิตถ์, แพร่, กาญจนบุรี, นครศรีธรรมราช ร้อยเอ็ด และปัตตานี
ทหารม้าในกองพล (ทหารม้า) และ ทหารม้านอกกองพล (ทหารม้า)
ม้านอกกองพล คือ หน่วยทหารม้าที่ไป สังกัดอยู่กับกองพลทหาร ราบ หรือ ร่วมปฏิบัติภารกิจ อื่นๆ
ทหารม้า แบ่งตามภาระกิจหน้าที่ ได้เป็นหลัก 3 ประเภท คือ
ทหาร ม้ารถถัง ภารกิจเป็นกำลังรบหลัก ดำเนินกลยุทธ์ เข้าทำลายขวัญและกำลังข้าศึก อย่างอย่างรุนแรง
ด้วยปืนใหญ่รถถัง
ทหารม้าลาดตระเวน มีหน้าที่ตรวจการณ์สำรวจพื้นที่ การรบ และเส้นทางในการเดินทางจากฐานถึงเขตแนว
พื้นที่การรบที่มีข้าศึก อยู่ และคอยเป็นกำลังหลักในการระวังและป้องกันหมู่รถถัง และหน่วยต่างๆอีกด้วย
ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ เป็นชุดชดเชยจุดอ่อน ป้องกันระวังหน่วยรถถัง มิให้ทหารราบฝ่ายตรงข้ามลอบโจมตี,
และหลังจากที่ รถถังทำการยิงทำลายข้าศึก จะเข้าไปทำการจับเชลย และตรวจค้น ภารกิจเช่นเดียวกับทหารราบ แต่จะบรรทุกไปในรถเกราะ เกาะติดตามหน่วยรถถัง
ทบ. แบ่งกองพลทหารม้า ออกเป็น ๒ กองพล คือ กองพลทหารม้าที่๑ (พล.ม.๑) ที่ตั้ง ค่ายพ่อขุนผาเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000 กองพลทหารม้าที่๒ รักษาพระองค์ (พล.ม.๒ รอ.) ที่ตั้ง 206 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
ทหารม้าในประเทศไทยแบ่งประเภทหลักๆได้ดังนี้
1.ทหารม้าลาดตระเวน คือทหารม้าที่อาศัยยานเกราะชนิดเพื่อการลาดตระเวนเป็นหลัก ทหารม้าลาดตระเวนมีภารกิจหลักคือ การลาดตระเวนและป้องกันพื้นที่ตามที่กำหนด
2.ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ คือทหารม้าที่ใช้ยานเกราะประเภทลำเลียงพล(Armoured Personnel Carrier)หรือยานเกราะอื่นนอกจากรถถังในการปฎิบัติการณ์เป็นหลัก
3.ทหารม้ารถถัง คือเหล่าทหารม้าที่ใช้รถถัง(Tank)ในการดำเนินการรบ เพื่อเข้าตี โอบล้อม กดดันข้าศึก จัดเป็นหน่วยหลักที่ใช้ในการทำการรบ ของหน่วยทหารม้าครับ
4.ทหารม้าอากาศ คือหน่วยทหารม้าที่ใช้อากาศยาน ประเภทเฮลิคอปเตอร์โจมตี(Attack Helicopter)ในการดำเนินการรบ ทหารม้าอากาศเป็นหน่วยที่มีความได้เปรียบกว่าทหารม้าประเภทอื่นๆตรงที่ อำนาจการยิงที่รุนแรง มีความคล่องแคล่วที่ดีเยี่ยม การเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว ทหารม้าอากาศสามารถดำเนินการสนับสนุนทหารราบ หรือทหารม้าประเภทอื่นๆในการดำเนินการรบได้เป็นอย่างดี
5.ทหารม้า(ม้าเนื้อ) คือทหารม้าที่ที่ใช้ ม้าเนื้อ ในการปฎิบัติภารกิจ ซึ่งภารกิจหลักของทหารม้าขี่ม้าคือ จัดขบวนม้าเข้าร่วมในพระราชพิธี และงานพระราชพิธีที่สำคัญ รวมไปถึงการปราบปรามจลาจลภายในเมืองเป็นต้น ในปัจจุบันทหารม้า(ม้าเนื้อ)ยังมีอยู่บางหน่วยในระดับกองพันทหารม้า
ภารกิจของทหารม้า
คราวนี้เรารู้จักเกี่ยวกับทหารม้าคร่าวๆแล้วคราวนี้ เราจะไปดูภารกิจของเหล่าทหารม้ากันครับว่าตามหลักนิยมสากลทหารม้ามีภารกิจดังต่อไปนี้
1.การบุกจู่โจมลึกเข้าไปในแดนข้าศึก เนื่องจากทหารม้าจัดเป็นหน่วยหลักในการจู่โจมภาคพื้นดิน ดังนั้นภารกิจแรกของทหารม้าที่สำคัญที่สุดคือ การบุกจู่โจมลึกเข้าไปในแดนข้าศึก การยึดพื้นที่ ยุทธบริเวณที่สำคัญ เนื่องจากตามหลักการแล้วการจะทำการรบให้ชนะ จะต้องอาศัยการรบเชิงรุก(เข้ายึดพื้นที่)ให้ได้ ภารกิจนี้จัดว่าเป็นภารกิจหลักของทหารม้า
2.การตั้งรับที่ทรงพลัง ตามหลักการรบแล้ว นอกจากการบุกแล้วบางครั้งยังต้องทำการตั้งรับด้วย ทหารม้าจะมีหน้าที่หลักในการ โจมตีเชิงรุกเพื่อตอบโต้กองกำลังข้าศึกที่บุกเข้ามาเพื่อสงวนกำลังส่วนใหญ่ของเราไว้
3.การลาดตระเวนพื้นที่ การลาดตระเวนพื้นที่ๆกำหนดเป็นอีกภารกิจที่สำคัญของเหล่าทหารม้า ด้วยการลาดตระเวน การคุ้มกัน เพื่อป้องกันจุดอ่อนของที่ตั้ง หรือพื้นที่ๆสำคัญ ซึ่งโดยหลักการแล้ว ภารกิจนี้จะเป็นหน้าที่ของ หน่วยทหารม้าลาดตระเวน
 
4.การทำลายยุทโธปกรณ์และกำลังพลของข้าศึก ข้อนี้จัดเป็นอีกหน้าที่หลักของทหารม้า ซึ่งจะใกล้เคียงกับข้อที่ 1. ที่กล่าวไปแล้ว เนื่องจากทหารม้าจัดเป็นกำลังรบเชิงรุกหนึ่งทางภาคพื้นดิน ภารกิจคือ การทำลายล้างยุทโธปกรณ์ ยานเกราะ พาหนะของข้าศึก ภารกิจนี้ทหารม้าอาจจะต้องทำการรบกับทหารม้าของฝ่ายข้าศึกอีกด้วย เช่น รถถัง ยานเกราะลำเลียงพล เป็นต้น
[[หมวดหมู่:กองทัพบก| ]]
5.การสนับสนุนการรบของทหาราบ เป็นอีกภารกิจของทหารม้าในทุกๆวันนี้ คือการสนับสนุนการรบทางบกของทหารราบ โดยทหารม้าจะอาศัยการป้องกันตัวเองรอบๆตัวจากทหารราบเผื่อในกรณีที่มีข้าศึกเข้าประชิดทหารม้าครับ และทหารราบก็อาศัยอำนาจการยิงที่รุนแรง เกราะป้องกัน และอำนาจการข่มขวัญข้าศึกจากทหารม้านั่นเอง จะเห็นได้ว่าทั้งหมดนี้ ทั้งทหารราบและทหารม้าต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยตลอดเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการรบสูงสุด
{{โครงทหาร}}
ข้อคิดจากนักเรียนนายสิบทหารม้า รุ่นที่ 1/40 (เหล่า ม.)
 
ทหารม้าถึงใส่นาฬิกาข้อมือขวา ทหารม้าบางท่านก็กล่าวว่าสาเหตุคือ การใช้มือถือบังเหียนและแส้ด้วยมือซ้ายขณะที่ขี่ม้า เมื่อต้องการดูเวลาการใส่นาฬิกาที่ข้อมือขวาจึงสะดวกกว่า บางท่านก็ว่าเวลาติดเครื่องยนต์รถถังต้องใช้มือซ้ายกดปุ่มสตาร์ทเครื่องยนต์ จึงใส่นาฬิกาที่มือขวาเพื่อดูเวลาติดเครื่องยนต์ บางท่านก็ให้เหตุผลว่าเวลาสวมหมวกพลประจำรถแล้วต้องกดกระเดื่องเพื่อพูดซึ่งจะอยู่ทางซ้ายของหมวก จึงต้องใส่นาฬิกาที่ข้อมือขวาเพื่อดูเวลา
[[an:Exercito]]
[[ar:جيش]]
[[arz:جيش]]
[[ast:Exércitu]]
[[az:Ordu]]
[[ba:Ғәскәр]]
[[bar:Militär]]
[[be:Армія]]
[[be-x-old:Армія]]
[[bg:Сухопътни войски]]
[[bn:সেনাবাহিনী]]
[[br:Lu]]
[[bs:Kopnena vojska]]
[[ca:Exèrcit]]
[[ch:Militåt]]
[[cs:Armáda]]
[[cv:Çар]]
[[cy:Byddin]]
[[da:Hær]]
[[de:Heer]]
[[el:Στρατός]]
[[en:Army]]
[[es:Ejército]]
[[et:Armee]]
[[eu:Armada]]
[[fa:نیروی زمینی]]
[[fi:Maavoimat]]
[[fr:Armée de terre]]
[[gd:Arm]]
[[gl:Exército]]
[[he:צבא יבשה]]
[[hr:Kopnena vojska]]
[[ht:Lame]]
[[hu:Hadsereg]]
[[hy:Ցամաքային զորքեր]]
[[id:Angkatan darat]]
[[io:Armeo]]
[[it:Esercito]]
[[ja:陸軍]]
[[jv:Angkatan Dharat]]
[[ka:სახმელეთო ჯარები]]
[[kk:Армия]]
[[ko:육군]]
[[ku:Artêş]]
[[la:Exercitus]]
[[lt:Sausumos kariuomenė]]
[[lv:Armija]]
[[ml:പട്ടാളം]]
[[ms:Tentera darat]]
[[new:सेना]]
[[nl:Landmacht (algemeen)]]
[[nn:Hær]]
[[no:Hær]]
[[pdc:Armee]]
[[pl:Armia]]
[[pt:Exército]]
[[qu:Awqaq suyu]]
[[ro:Armată terestră]]
[[ru:Армия]]
[[scn:Asèrcitu]]
[[sco:Airmie]]
[[sh:Kopnena vojska]]
[[simple:Army]]
[[sl:Vojska]]
[[sn:Mawuto]]
[[sq:Ushtria]]
[[sr:Армија]]
[[sv:Armé]]
[[sw:Jeshi la ardhi]]
[[ta:தரைப்படை]]
[[tg:Армия]]
[[tl:Hukbong-kati]]
[[tr:Ordu (askeriye)]]
[[uk:Армія]]
[[vi:Lục quân]]
[[war:Kusóg pantuna]]
[[zh:陆军]]