ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง
| election_name = การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529
| country = ไทย
| type = parliamentary
| ongoing = ไม่
| previous_election = การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
| previous_year = พ.ศ. 2526
| next_election = การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
| next_year = พ.ศ. 2531
| seats_for_election = ทั้งหมด 347 ที่นั่งใน[[รัฐสภาไทย]]
| election_date = [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2529]]
 
| image1 = [[ไฟล์:Bhichai Rattakul.jpg|150px]]
| leader1 = [[พิชัย รัตตกุล]]
| party1 = พรรคประชาธิปัตย์
| party_colour = blue
| leaders_seat1 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| last_election1 = 60
| seats1 = 99
| seat_change1 = {{increase}} 39
| popular_vote1 =
| percentage1 =
 
| image2 = [[ไฟล์:Praman Adirecsan2.jpg‎|150px]]
| leader2 = [[ประมาณ อดิเรกสาร|พลตรีประมาณ อดิเรกสาร]]
| party2 = พรรคชาติไทย
| party_colour2 = red
| leaders_seat2 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| last_election2 = 110
| seats2 = 64
| seat_change2 = {{decrease}} 46
| popular_vote2 =
| percentage2 =
}}
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529''' นับเป็น '''การเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 16 ของประเทศไทย''' สืบเนื่องมาจากการที่[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 ของไทย|รัฐบาล]]โดย พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ได้[[ยุบสภา|ตราพระราชกฤษฎีกายุบสภา]] เมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]] เนื่องจากรัฐบาลมีความขัดแย้งกับ[[สภาผู้แทนราษฎร]]เกี่ยวกับการตรา[[พระราชกำหนด]]แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พุทธศักราช 2522 โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ [[27 กรกฎาคม]] ปีเดียวกัน<ref>สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน.'' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2539. 632 หน้า. ISBN 974-599-876-4</ref>
 
ผลการเลือกตั้ง [[พรรคประชาธิปัตย์]] โดย นาย[[พิชัย รัตตกุล]] หัวหน้าพรรค และนาย[[ชวน หลีกภัย]] แกนนำคนสำคัญของพรรค ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด ด้วยเสียงมากถึง 10099 เสียง โดยเฉพาะในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]]ได้มากถึง 1615 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล โดยพรรคที่ได้รับเลือกตั้งรองลงมา คือ [[พรรคชาติไทย]] 6164 เสียง, [[พรรคกิจสังคม]] 51 เสียง และ[[พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529) |พรรคราษฎร]] 1820 เสียง โดยเสียงทั้งหมดในสภาผู้แทนราษฎรมีทั้งหมด 347 เสียง<ref>[http://www.democrat.or.th/th/about/history/ ประวัติพรรคประชาธิปัตย์]</ref>
 
โดยทั้ง 4 [[พรรคการเมือง|พรรค]]ได้หารือกันถึงการจัดตั้งรัฐบาล ปรากฏว่า ทุกพรรคต่างเห็นชอบให้ พล.อ.เปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[5 สิงหาคม]] ปีเดียวกัน นับเป็นสมัยที่ 3 ของ พล.อ.เปรม โดยมี นาย[[อุกฤษ มงคลนาวิน]] ประธาน[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ และรับสนองพระบรมราชโองการ โดยมี[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ถ่ายทอดพิธีสนองรับพระบรมราชโองการและคำกล่าวของ พล.อ.เปรม ณ [[บ้านสี่เสาเทเวศร์]] ซึ่งเป็นบ้านพัก ตลอดจนจบสิ้น<ref>หน้า 199, ประชาธิปัตย์ชนะเลือกตั้ง ''พล.อ.เปรมเป็นนายกฯ อีกสมัย''. ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2555'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3 </ref>