ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Doctortum (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Doctortum (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
| ลิขิต =
}}
 
'''หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม''' เกิดเมื่อวันที่ [[3 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2431]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลบ้านข่า อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เป็นบุตรของนายปา และนางปัตต์ มีพี่น้องร่วมบิดามารดารวมทั้งหมด 7 คน หลวงปู่ตื้อ เป็นลูกคนที่ 5 ในญาติทั้งหมดของหลวงปู่ตื้อ นับเป็นครอบครัวที่ใกล้ชิดกับวัดมาก มีความฝักใฝ่ต่อพระพุทธศาสนา ถ้าลองสังเกตให้ดี ในบรรดาญาติของท่าน ถ้าเป็นชายล้วน แต่ก็มาบวชเป็นพระภิกษุ แต่ถ้าเป็นผู้หญิง ก็ยอมสละบ้านเรือน มาบวชชีพราหมณ์จนหมด ก่อนที่หลวงปู่ตื้อจะบวช ได้มีนิมิตมาบอกท่านมากมาย เช่น ในคืนก่อนที่ท่านจะบวช ท่านได้ฝันถึงชีปะขาว มาถึง 2 คน และท่านฝันอีกว่า ท่านได้เห็นพระภิกษุที่น่าเลื่อมใสอีก 2 รูป ท่านคิดว่าเป็นผู้วิเศษ จึงได้เข้าไปกราบนมัสการ และนิมิตครั้งสุดท้าย มีพระภิกษุท่านได้เข้ามาพูดกับท่านว่า '''หนูน้อย เจ้ามีกำลังแข็งแรงมาก''' เท่านั้น พระท่านก็หายไป ท่านก็มีความมั่นใจ เพราะท่านเชื่อว่า วันนี้จะมีเรื่องดี ที่ท่านจะได้บวชตามใจปรารถนา จะได้มีการประพฤติธรรมอย่างจริงจัง และปู่ของท่านก็อยากให้ท่านบวชเป็นพระภิกษุมานานแล้ว ท่านจึงตอบรับคำปู่ทันที และได้เข้ารับพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อปี [[พ.ศ. 2452]] บวชได้เพียง 19 พรรษา ก็เปลี่ยนมาบวชในนิกายธรรมยุติเมื่อปี [[พ.ศ. 2471]] หลังจากบวชได้ 7 วัน หลวงปู่สิม ก็เข้ามาถามท่านว่า จะสึกไหม ท่านก็บอกว่า รอออกพรรษาก่อน พอถึงช่วงออกพรรษา หลวงปู่สิม ก็ถามอีกว่า จะสึกไหม ท่านก็คิดในใจว่า บวชเพียง 1 พรรษา นั้นยังเรียนพระธรรมไม่ค่อยเพียงพอ ท่านก็บอกว่า ท่านจะบวชไปเรื่อย ๆ ก่อน หลวงปู่ตื้อ ได้เริ่มเรียนศึกษาคำภีร์ มูลกัจจายน์ ในสมัยนั้น โดยมีพระอาจารย์คาน เป็นเจ้าสำนัก หลังจากออกพรรษาได้เพียง 1 พรรษา ท่านก็ได้เดินทางไปศึกษาพระธรรม ที่ วัดโพธิชัย ตำบลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม หลวงปู่ท่านได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนอยู่รวมระยะเวลา 4 ปี ก็จบหลักสูตรมูลกัจจายน์ จึงได้รับฉายาว่า '''นักปราชญ์''' ด้วยความที่ท่านเป็นคนที่ใฝ่ในการเรียนรู้ อยู่ในสายเลือด ท่านก็ได้ตั้งใจศึกษาต่อไป หลวงปู่ท่านได้เปลี่ยนใจปฏิบัติออกธุดงค์ ปฏิบัติกรรมฐาน เพราะมันเป็นกริยาของท่านอยู่แล้ว และต่อมาท่านก็ได้เดินทางไปประเทศลาว ก็ขยันเดินทางไปศึกษาพระธรรมต่อ ไม่มีวันหยุด และก็ได้ไปหลวงพระบาง และไปเจอชีปะขาวไปดูสมบัติในถ้ำ ชีปะขาวก็สอนว่า ถ้าคนเราพยายามทำสิ่งที่เราต้องกัน สิ่งนั้นจะมาเร็ว และก็ได้เดินทางไปยังประเทศพม่า และก็ได้ไปศึกษาวิชาอาคมกับพระเถระในพม่า และก็ได้เดินทางกลับสู่ประเทศไทย ต่อมาท่านก็มีอาการอาพาธ และถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]] ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] รัชกาลปัจจุบัน รวมสิริอายุได้ 86 ปี บวชพระธรรมนิกาย 19 พรรษา ธรรมยุติได้ 65 พรรษา
==ประวัติ==
=== ชาติกำเนิด ===
'''หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม''' เกิดเมื่อวันที่ [[3 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2431]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลบ้านข่า อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เป็นบุตรของนายปา และนางปัตต์ มีพี่น้องร่วมบิดามารดารวมทั้งหมด 7 คน หลวงปู่ตื้อ เป็นลูกคนที่ 5 ในญาติทั้งหมดของหลวงปู่ตื้อ นับเป็นครอบครัวที่ใกล้ชิดกับวัดมาก มีความฝักใฝ่ต่อพระพุทธศาสนา ถ้าลองสังเกตให้ดี ในบรรดาญาติของท่าน ถ้าเป็นชายล้วน แต่ก็มาบวชเป็นพระภิกษุ แต่ถ้าเป็นผู้หญิง ก็ยอมสละบ้านเรือน มาบวชชีพราหมณ์จนหมด
 
=== อุปสมบท ===
'''หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม''' เกิดเมื่อวันที่ [[3 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2431]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลบ้านข่า อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เป็นบุตรของนายปา และนางปัตต์ มีพี่น้องร่วมบิดามารดารวมทั้งหมด 7 คน หลวงปู่ตื้อ เป็นลูกคนที่ 5 ในญาติทั้งหมดของหลวงปู่ตื้อ นับเป็นครอบครัวที่ใกล้ชิดกับวัดมาก มีความฝักใฝ่ต่อพระพุทธศาสนา ถ้าลองสังเกตให้ดี ในบรรดาญาติของท่าน ถ้าเป็นชายล้วน แต่ก็มาบวชเป็นพระภิกษุ แต่ถ้าเป็นผู้หญิง ก็ยอมสละบ้านเรือน มาบวชชีพราหมณ์จนหมด ก่อนที่หลวงปู่ตื้อจะบวช ได้มีนิมิตมาบอกท่านมากมาย เช่น ในคืนก่อนที่ท่านจะบวช ท่านได้ฝันถึงชีปะขาว มาถึง 2 คน และท่านฝันอีกว่า ท่านได้เห็นพระภิกษุที่น่าเลื่อมใสอีก 2 รูป ท่านคิดว่าเป็นผู้วิเศษ จึงได้เข้าไปกราบนมัสการ และนิมิตครั้งสุดท้าย มีพระภิกษุท่านได้เข้ามาพูดกับท่านว่า '''หนูน้อย เจ้ามีกำลังแข็งแรงมาก''' เท่านั้น พระท่านก็หายไป ท่านก็มีความมั่นใจ เพราะท่านเชื่อว่า วันนี้จะมีเรื่องดี ที่ท่านจะได้บวชตามใจปรารถนา จะได้มีการประพฤติธรรมอย่างจริงจัง และปู่ของท่านก็อยากให้ท่านบวชเป็นพระภิกษุมานานแล้ว ท่านจึงตอบรับคำปู่ทันที และได้เข้ารับพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อปี [[พ.ศ. 2452]] บวชได้เพียง 19 พรรษา ก็เปลี่ยนมาบวชในนิกายธรรมยุติเมื่อปี [[พ.ศ. 2471]] หลังจากบวชได้ 7 วัน หลวงปู่สิม ก็เข้ามาถามท่านว่า จะสึกไหม ท่านก็บอกว่า รอออกพรรษาก่อน พอถึงช่วงออกพรรษา หลวงปู่สิม ก็ถามอีกว่า จะสึกไหม ท่านก็คิดในใจว่า บวชเพียง 1 พรรษา นั้นยังเรียนพระธรรมไม่ค่อยเพียงพอ ท่านก็บอกว่า ท่านจะบวชไปเรื่อย ๆ ก่อน หลวงปู่ตื้อ ได้เริ่มเรียนศึกษาคำภีร์ มูลกัจจายน์ ในสมัยนั้น โดยมีพระอาจารย์คาน เป็นเจ้าสำนัก หลังจากออกพรรษาได้เพียง 1 พรรษา ท่านก็ได้เดินทางไปศึกษาพระธรรม ที่ วัดโพธิชัย ตำบลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม หลวงปู่ท่านได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนอยู่รวมระยะเวลา 4 ปี ก็จบหลักสูตรมูลกัจจายน์ จึงได้รับฉายาว่า '''นักปราชญ์''' ด้วยความที่ท่านเป็นคนที่ใฝ่ในการเรียนรู้ อยู่ในสายเลือด ท่านก็ได้ตั้งใจศึกษาต่อไป หลวงปู่ท่านได้เปลี่ยนใจปฏิบัติออกธุดงค์ ปฏิบัติกรรมฐาน เพราะมันเป็นกริยาของท่านอยู่แล้ว และต่อมาท่านก็ได้เดินทางไปประเทศลาว ก็ขยันเดินทางไปศึกษาพระธรรมต่อ ไม่มีวันหยุด และก็ได้ไปหลวงพระบาง และไปเจอชีปะขาวไปดูสมบัติในถ้ำ ชีปะขาวก็สอนว่า ถ้าคนเราพยายามทำสิ่งที่เราต้องกัน สิ่งนั้นจะมาเร็ว และก็ได้เดินทางไปยังประเทศพม่า และก็ได้ไปศึกษาวิชาอาคมกับพระเถระในพม่า และก็ได้เดินทางกลับสู่ประเทศไทย ต่อมาท่านก็มีอาการอาพาธ และถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]] ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] รัชกาลปัจจุบัน รวมสิริอายุได้ 86 ปี บวชพระธรรมนิกาย 19 พรรษา ธรรมยุติได้ 65 พรรษา
 
=== มรณภาพ ===
ต่อมาท่านก็มีอาการอาพาธ และถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]] ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] รัชกาลปัจจุบัน รวมสิริอายุได้ 86 ปี บวชพระธรรมนิกาย 19 พรรษา ธรรมยุติได้ 65 พรรษา
 
== อ้างอิง ==