ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลนถล่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แต๊ง (คุย | ส่วนร่วม)
แต๊ง (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 54:
เหตุการณ์ในลักษณะนี้ไม่เกิดขึ้นบ่อย แต่เป็นที่ตระหนักกันดีในเชิง[[อุทกศาสตร์]]และ[[การป้องกันภัยธรรมชาติ]] ชาวบ้านและทางราชการที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงจึงให้ความสำคัญน้อย และมักปล่อยให้มี[[การตั้งถิ่นฐาน]]ในพื้นที่เสี่ยงนั้นต่อไปอีกเมื่อเวลาเนิ่นออกไปด้วยเหตุผลทางสังคม กฎหมายที่มีอยู่ก็เพียงเพื่อบรรเทาและให้ความช่วยเหลือในระยะสั้น มิได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายในด้านการตั้งถิ่นฐานระยะยาวบนพื้นที่เสี่ยงไว้
 
[[ปรากฏการณ์โลกร้อน]] (Global warming) แม้จะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติระยะยาว แต่การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วและการเผาผลานผลาญ[[เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์]]จำนวนมหาศาลของมนุษย์กำลังเพิ่มอัตราความเร็วและความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่รุนแรงและค่อนข้างพยากรณ์ได้ยาก ประเทศไทยมีพื้นที่เสี่ยงสูงเช่นนี้มากมายหลายแหล่ง รวมทั้งพื้นที่ที่[[กรมทรัพยากรธรณี]]ได้ประกาศไว้แล้วจึงไม่ควรละเลยภัยธรรมชาติประเภทโคลนถล่มอีกต่อไป
 
== อ้างอิง ==